Page 814 - Full paper สอฉ.3-62
P. 814
1. ค าน า ของการให้ค าแนะน าและปรึกษาผ่านเครือข่ายได้ ที่จะช่วยเอื้อ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศส่งผลท าให้ ต่อผู้เรียนได้เป็นอย่างดี
มนุษย์ในสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปจากเดิม ดังนั้นทางผู้จัดท าโครงการจึงคิดที่จะน าเอาระบบ
ในหลายๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นวิธีการติดต่อสื่อสารรูปแบบการ เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาพัฒนาระบบสื่อการเรียนการสอน
เรียนรู้ ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ในการด ารงชีวิตประจ าวัน ซึ่ง ออนไลน์ (e-learning) เพื่อท าให้ระบบการท างานมีการใช้งาน
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดังกล่าวเป็นผลสืบเนื่องมาจาก ที่สะดวกและง่ายอีกทั้งผู้สอนสามารถสร้างหรือปรับปรุง
เทคโนโลยีสามารถลดข้อจ ากัดในเรื่องระยะทาง เวลาและ บทเรียนได้ตลอดเวลา และผู้เรียนสามารถที่จะใช้เวลาในการ
สถานที่ในการติดต่อสื่อสารลงไปได้ การวิวัฒนาการของ เรียนรู้ได้อย่างเต็มที่โดยไม่จ ากัดเวลา ซึ่งจะช่วยให้การศึกษามี
เทคโนโลยีสารสนเทศนับว่าเป็นสิ่งที่มีความส าคัญ ควรที่จะ คุณภาพและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ได้รับการพัฒนาและถูกน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น 2.วัตถุประสงค์การวิจัย
งานด้านวิจัย งานด้านการศึกษา เนื่องจากสภาพการเรียนรู้ใน 2.1 เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างโปรแกรม
ปัจจุบันที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเป็นส าคัญ เพื่อให้ผู้เรียน ส าเร็จรูปเวิร์ดเพลสด้วยระบบวิดิทัศน์
สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตามความสามารถของตน และเป็น 2.2 เพื่อประเมินการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การ
การสนองต่อพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 สร้างโปรแกรมส าเร็จรูปเวิร์ดเพลสด้วยระบบวิดิทัศน์
(เบญวรรณ ชื่อวิเศษ, 2552) 2.3 เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อบทเรียน
สิ่งจ าเป็นอีกอย่างหนึ่งที่สนองตอบต่อการจัดการเรียนรู้ ออนไลน์ เรื่อง การสร้างโปรแกรมส าเร็จรูปเวิร์ดเพลสด้วย
ที่เน้นการสร้างความรู้ด้วยตัวของผู้เรียนเอง โดยอาศัย ระบบวิดิทัศน์
ประสบการณ์และความรู้ใหม่จากแหล่งความรู้ที่อยู่รอบๆ ตัว
คือ สื่อบนเครือข่าย (Web-based) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อ 3.วิธีด าเนินการวิจัย
พิจารณาถึงคุณลักษณะของสื่อ (Media Attribution) และระบบ 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
สั ญ ลักษ ณ์ ข องสื่ อ (Media Symbol System) ที่ มี ค วาม 3.1.1 ผู้เชี่ยวชาญส าหรับการประเมินการพัฒนา
สอดคล้องและสนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียนไม่ว่าจะ บทเรียนออนไลน์ฯ จ านวน 3 คน คัดเลือกจากผู้ทรงคุณวุฒิ
เรียนเป็นกลุ่มหรือเรียนด้วยตนเอง โดยน าเสนอผ่านเครือข่าย 3.1.2 นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
คอมพิวเตอร์ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง ปี ที่ 1 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา
และเรียนได้ทุกสถานที่ ทุกเวลารวมทั้งหลักการน าเสนอแบบ มหาสารคาม จ านวน 120 คน คัดเลือกเป็นกลุ่มตัวอย่าง 30 คน
Hypertext ที่ประกอบด้วยข้อมูลเป็นโหนดหลักและโหนดย่อย ส าหรับใช้ในการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งาน
รวมทั้งการเชื่อมโยงแต่ละโหนดซึ่งกันและกัน ที่เรียกว่า 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
Hyperlink และสอดรับการสร้างความรู้ที่สามารถช่วยปูพื้นฐาน 3.2.1 เว็บไซต์บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้าง
ในขณะที่โครงสร้างทางภูมิปัญญาเดิมไม่มี และช่วยขยาย โปรแกรมส าเร็จรูปเวิร์ดเพลสด้วยระบบวิดิทัศน์ โดยได้ด าเนิน
โครงสร้างทางปัญญาให้ซับซ้อนมากขึ้น ทั้งยังเชื่อมโยงเป็น ตามรูปแบบของ ADDIE MODEL ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอน
เครือข่ายไปทั่วโลก ซึ่งท าให้ผู้เรียนได้มีแหล่งข้อมูลในการ ดังนี้ ขั้นที่ 1 วิการวิเคราะห์ (Analysis) ขั้นที่ 2 การออกแบบ
เรียนรู้เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ ผู้สอนและผู้เรียนสามารถมี (Design) ขั้นที่ 3 การพัฒนา (Development) ขั้นที่ 4 ทดลองใช้
ปฏิสัมพันธ์กันโดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยง (Implementation) และขั้นที่ 5 การประเมินผล (Evaluation)
ซึ่งกันและกัน ที่ช่วยเอื้อต่อการขยายกระบวนการคิดของผู้เรียน ส าหรับการจัดท าเว็บไซต์บทเรียนออนไลน์
เช่น การตอบค าถามหรือการปรึกษาหารือผ่านเครือข่าย (Post) 3.2.2 แบบประเมินการพัฒนาบทเรียนออนไลน์โดย
ซึ่งท าให้ผู้เรียนและผู้สอนสามรถปฏิสัมพันธ์กันในลักษณะ ผู้เชี่ยวชาญส าหรับบทเรียนออนไลน์ เรื่อง เรื่อง การสร้าง
โปรแกรมส าเร็จรูปเวิร์ดเพลสด้วยระบบวิดิทัศน์ จัดท าขึ้นโดย
2
796