Page 812 - Full paper สอฉ.3-62
P. 812

ความส าคัญเป็นอันดับ 3   ปัจจัยที่ 4 ด้านประโยชน์ สามารถ  [6] สมเล็ก ลีลาประทักษ์ การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา
             อธิบายดัวยตัวแปรที่ส าคัญ 5 ตัวแปร ซึ่งน้าหนักตัวแปรใน  ค้นคว้าและวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย

             ปัจจัยอยู่ระหว่าง 0.580 – 0.852 มีค่า Eigen value เท่ากับ 4.410   รามคาแหง
             และร้อยละของความแปรปรวนเท่ากับ 8.320 เมื่อเปรียบเทียบ  [7] หรรษา วงศ์ธรรมกูล การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจ

             ค่า Eigen value กับปัจจัยอื่นทั้งหมด 7 ปัจจัยแล้ว ปัจจัยด้าน  ต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ของ
             ประโยชน์ มีความส าคัญเป็นอันดับ 4   ปัจจัยที่ 5 ด้านระบบ  นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
             อินเทอร์เน็ต สามารถอธิบายดัวยตัวแปรที่ส าคัญ 5 ตัวแปร ซึ่ง  [8] อรพิน จิรวัฒนศิริ การใช้ประโยชน์จากสื่ออินเทอร์เน็ตของ
             น้าหนักตัวแปรในปัจจัยอยู่ระหว่าง 0.629 – 0.848 มีค่า Eigen   นักศึกษาปริญญาโท ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างมหาวิทยาลัย

             value เท่ากับ 4.087 และร้อยละของความแปรปรวน เท่ากับ  ของรัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร
             7.712  เมื่อเปรียบเทียบค่า Eigen value กับปัจจัยอื่นทั้งหมด 7   [9] เพ็ญนภา จวนชัยนาท การศึกษาสภาวะการใช้และการ

             ปัจจัยแล้ว ปัจจัยด้านระบบอินเทอร์เน็ตมีความส าคัญเป็น  ส่งเสริมการใช้ข้อสนเทศจาก ระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา
             อันดับ 5  ปัจจัยที่ 6 ด้านการบริการ สามารถอธิบายดัวยตัวแปร  ในสถาบันอุดมศึกษา : กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ
             ที่สาคัญ 3 ตัวแปร ซึ่งน้าหนักตัวแปรในปัจจัยอยู่ระหว่าง 0.629  จอมเกล้าธนบุรี

             – 0.848 มีค่า Eigen value เท่ากับ 3.609 และร้อยละของความ  [10] เวนิจ หงษา การใช้และการยอมรับอินเทอร์เน็ตของ
             แปรปรวนเท่ากับ 6.809 เมื่อเปรียบเทียบค่า Eigen value กับ  อาจารย์และนิสิตมหาวิทยาลัย มหาสารคาม

             ปัจจัยอื่นทั้งหมด 7 ปัจจัยแล้ว ปัจจัยด้านการบริการ มี  [11] เดชศักดิ์ ศานติวิวัฒน์ และคณะ การใช้บริการสืบค้น
             ความส าคัญเป็นอันดับ 6 ปัจจัยที่ 7 ด้านอื่นๆ สามารถอธิบาย  สารนิเทศผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตของนักศึกษาใน
             ดัวยตัวแปรที่ส าคัญ 4 ตัวแปร ซึ่งน้าหนักตัวแปรในปัจจัยอยู่  หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น
             ระหว่าง 0.629 – 0.848 มีค่า Eigen value เท่ากับ2.961 และร้อย  [12] ศิริพร ศรีเชลียง การใช้สารสนเทศจากอินเทอร์เน็ตของ

             ละของความแปรปรวนเท่ากับ 5.587 เมื่อเปรียบเทียบค่า Eigen   ผู้ใช้บริการในสถาบันราชภัฏ
             value กับปัจจัยอื่นทั้งหมด 7 ปัจจัยแล้ว ปัจจัยด้านอื่นๆ มี  [13] Honey & McMillan การใช้อินเทอร์เน็ตของอาจารย์ใน

             ความส าคัญเป็นอันดับ สุดท้าย                     ศูนย์เทคโนโลยีทาง การศึกษาเมืองนิวยอร์ค
                                                              [14] Mohaidin การใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตของนักศึกษา
             เอกสารอ้างอิง                                    มาเลเซียที่ศึกษาใน ต่างประเทศ

             [1] พจนารถ ทองคาเจริญ วิจัยพฤติกรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต   [15] Baker ทัศนคติและการเข้าไปใช้บริการอีเมล์ และ

             ของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย     อินเทอร์เน็ตของนักศึกษาในรัฐ อลิสโซนา
             [2] เพ็ญทิพย์ จิรพินนุสรณ์ พฤติกรรมการแสวงหาข่าวสารผ่าน  [16] Wilson การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาวิจัยของ
             สื่อมวลชนและอินเทอร์เน็ตของนักศึกษาและบุคลากรของ  นักศึกษา : ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของ การใช้และไม่ใช้

             สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ            วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาวิจัย
             [3] มหัฐพล อรุณสวัสดิ์ สภาพ ปัญหา และความต้องการ การ  ของนักศึกษาและอะไรเป็น สาเหตุของการใช้และไม่ใช้
             ใช้บริการของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตผ่านเครือข่ายจุฬาลงกรณ์    [17] กัลยา รัตนศิวะ ปัญหา ประโยชน์ และความพึงพอใจที่มี

             มหาวิทยาลัยภายใต้โดเมนเน็ตเสิร์ฟ                 ต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ของนักศึกษา มหาวิทยาลัย
             [4] องอาจ ฤทธิ์ทองพิทักษ์ พฤติกรรมการสื่อสารผ่านระบบ  เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
             เวิลด์ไวด์เว็บของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร

             [5] เรวดี คงสุภาพกุล การใช้ Internet ของนิสิตนักศึกษาในเขต
             กรุงเทพมหานคร





                                                              3
                                                                                                              794
   807   808   809   810   811   812   813   814   815   816   817