Page 84 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 84
๗๗
»ÃСÒ÷ÕèÊÕè การปลอยใหเจาหนาที่ตองรับผิดตอบุคคลภายนอกหรือตอหนวยงานของรัฐ
ในผลแหงละเมิดที่ตนไดกระทําไปในการปฏิบัติหนาที่ ในทุกกรณีก็ดี การนําหลักกฎหมายเรื่อง
ลูกหนี้รวมมาใชบังคับกับเจาหนาที่ใหตองรวมรับผิดในการกระทําของเจาหนาที่คนอื่นดวยก็ดี เปนเหตุให
เจาหนาที่สวนใหญไมกลาตัดสินใจดําเนินงานในหนาที่ของตนเทาที่ควร เพราะเกรงวาความรับผิด
อาจจะเกิดแกตน กิจการบริการสาธารณะจึงขาดความตอเนื่องและหยุดชะงัก
ËÅѡࡳ±¡ÒáÃÐทํา·Õè໚¹¡ÒÃÅÐàÁÔ´
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ ไมไดบัญญัติเรื่องลักษณะของ
การกระทําที่เปนละเมิดไวโดยเฉพาะ ดังนั้น การพิจารณาวาการกระทําอยางไรเปนละเมิดจึงตองพิจารณา
ตามหลักกฎหมายทั่วไป คือ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยลักษณะละเมิด
ÁÒμÃÒ ôòð ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขา
เสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี
ทานวาผูนั้นทําละเมิดจําตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
¨§ã¨ หมายถึง จงใจใหเขาเสียหายในเบื้องตนนี้จําเปนตองทําความเขาใจวา เรื่องละเมิด
ตามกฎหมายแพงนั้น วัตถุประสงคของกฎหมายแพงซึ่งเปนกฎหมายเอกชนมุงที่การเยียวยาความเสียหาย
หรือการชดใชคาสินไหมทดแทนความเสียหายใหแกผูเสียหาย ดังนั้น คําวา “¨§ã¨” ในเรื่องละเมิด
ซึ่งเปนหลักกฎหมายแพงจึงมีความหมายที่ตองแยกออกจากคําวา “à¨μ¹Ò” ตามกฎหมายอาญา
เพราะวา กฎหมายอาญานั้นมีวัตถุประสงคเพื่อนําตัวผูกระทําความผิดมาลงโทษ และ “เจตนา”
ตามกฎหมายอาญานั้นเปนองคประกอบภายในของความผิดทางอาญา ซึ่ง “เจตนา” ในกฎหมายอาญา
จะเปนการกระทําโดยผูกระทํารูสํานึกในการกระทําและในขณะเดียวกันผูกระทําก็ประสงคตอผล คือ
กระทําโดยมุงรายตอผูเสียหาย หรือกระทําโดยรูสํานึกในการกระทํา และขณะเดียวกันยอมเล็งเห็น
ผลรายที่จะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น
ในความรับผิดทางแพงอันเปนความรับผิดที่เกิดจากมูลละเมิด กฎหมายใชคําวา “¨§ã¨”
ซึ่งหมายถึง ผูกระทําตั้งใจกระทําอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งอาจจะกระทําโดยมีเจตนารายหรือกระทํา
โดยตองการใหผูอื่นไดรับความเสียหายโดยตรงอยางหนึ่ง และอีกอยางหนึ่ง แมผูกระทําจะมิไดมี
เจตนารายซึ่งเทากับขาด “เจตนา” ตามกฎหมายอาญาซึ่งทําใหขาดองคประกอบและไมเปนความผิด
อาญา แตเมื่อการกระทําที่ตั้งใจทํานั้นเปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกบุคคลอื่นขึ้นมา ผูกระทําที่เปน
เหตุของความเสียหายนั้นก็ตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนความเสียหายแกผูที่ไดรับความเสียหาย
จากการกระทํานั้น เพราะฉะนั้น หลักกฎหมายเรื่อง “จงใจ” ในกฎหมายแพงจึงมุงพิจารณาที่
“¤ÇÒÁμÑé§ã¨ã¹¡ÒáÃÐทํา·Õè໚¹àËμØ¢Í§¤ÇÒÁàÊÕÂËÒ” นั้นเองวา ผูกระทําตั้งใจทําหรือไม มิได
พิจารณาวาผูกระทํามีเจตนารายหรือไม
»ÃÐÁÒ·àÅÔ¹àÅ‹Í หมายถึง กระทําโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเชนนั้น
จักตองมีตามวิสัยและพฤติการณและผูกระทําอาจใชความระมัดระวังเชนวานั้นได แตหาไดใช
เพียงพอไม ซึ่งความระมัดระวังของบุคคลตองพิจารณาตามวิสัยและพฤติการณ