Page 85 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 85

๗๘




                          คําวา “ประมาทเลินเลออยางรายแรง” ศาลปกครองสูงสุดไดตีความหมายถอยคํานี้ไววา
              หมายถึง การกระทําโดยมิไดเจตนาแตเปนการกระทําซึ่งบุคคลคาดหมายไดวาจะกอใหเกิดความเสียหายขึ้น

              และหากใชความระมัดระวังเพียงเล็กนอยก็อาจปองกันไมใหเกิดความเสียหายนั้นได แตกลับไมไดใช
              ความระมัดระวังนั้นเลย (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๐๖/๒๕๕๒)
                          กรณีที่ถือวา “ประมาทเลินเลออยางรายแรง”
                          ๑.  ไมไดใชความระมัดระวังเลยสักนิด

                          ๒.  ทําผิดซํ้าๆ ในเรื่องแบบเดียวกัน
                          ๓.  ปฏิบัติผิดมาตรฐานวิชาชีพ

                          ๔.  ฝาฝนกฎหมาย หรือระเบียบ
                          ๕.  กฎหมายหรือระเบียบกําหนดวิธีปฏิบัติไวแตไมไดทําหรือปฏิบัติตามนั้น
                          “¤ÇÒÁÃÐÁÑ´ÃÐÇѧμÒÁÇÔÊÑ” นั้น หมายถึง ความระมัดระวังตามสภาพของตัวผูกระทํานั้นเอง
              เชน เด็กกับผูใหญ หรือผูมีความชํานาญในวิชาชีพเฉพาะดานกับคนทั่วไป เปนเจาหนาที่ชั้นผูใหญ

              หรือชั้นผูนอย เปนเจาหนาที่ธรรมดาหรือผูเชี่ยวชาญ ดังนี้ ความระมัดระวังยอมแตกตางกัน
                          สวน “¤ÇÒÁÃÐÁÑ´ÃÐÇѧμÒÁ¾ÄμÔ¡Òó” หมายถึง ความระมัดระวังตามสภาพของเหตุแวดลอม

              ซึ่งเปนเหตุภายนอกตัวผูกระทํา เชน สภาพฝนตกถนนลื่นกับแดดออกถนนแหง เวลากลางคืนกับเวลากลางวัน
              ทางตรงกับทางโคง สภาพถนนกวางมียานยนตนอยกับที่คับขันหรือมียานยนตคับคั่ง สภาพของสถานที่ทํางาน
              ของเจาหนาที่ จํานวนของประชาชนที่เขามาติดตอกับเจาหนาที่ เปนตน สภาพแวดลอมเหลานี้ทําใหตองใช
              ความระมัดระวังที่แตกตางกัน

                          คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·Õè Í.òù/òõôö การที่ผูฟองคดีไดรับแจงใหเขารับ
              การฝกอบรมกอนถึงกําหนดฝกอบรมเพียง ๒ วันแลวผูฟองคดีไมไดตรวจสอบวาตนมีหนาที่ตองอยู

              เวรยามในวันใด เพราะเปนเวลาที่กระชั้นชิดและผูฟองคดีมีราชการที่ตองออกไปปฏิบัตินอกสถานที่
              อยางตอเนื่องและไมรายงานใหหัวหนาฝายทะเบียนการคาทราบเพื่อจะไดออกคําสั่งใหผูอื่นมาอยู
              เวรยามแทนจึงมีเหตุผลพอที่จะรับฟงได ประกอบกับผูฟองคดีมีหนาที่ตองไปเขารับการฝกอบรมตาม
              คําสั่งของผูบังคับบัญชาซึ่งเปนการกระทําโดยชอบในทางราชการจึงถือไมไดวาผูฟองคดีมีพฤติการณ

              ละทิ้งหนาที่เวรยามและถือไมไดวาผูฟองคดีจงใจหรือประมาทเลินเลอเปนเหตุใหเกิดความเสียหาย
              แกทางราชการ คําสั่งของกรมทะเบียนการคาที่สั่งใหผูฟองคดีชดใชคาเสียหายจึงเปนคําสั่งที่ไมชอบ

              ดวยกฎหมาย
                          คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·Õè Í.òñô/òõõð นายไพศิษฐปลัดอําเภอรักษาราชการ
              แทนนายอําเภอซึ่งเปนผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดปฏิบัติหนาที่โดยทําพินัยกรรมแบบเอกสารฝายเมืองใหกับ

              นางอึ่งเมื่อวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๒ แลวเก็บรักษาพินัยกรรมนั้นไวทั้งที่นางอึ่งยังไมไดลงลายมือชื่อ
              ในพินัยกรรมโดยไมไดตรวจสอบกอนวานางอึ่งผูทําพินัยกรรมไดลงลายมือชื่อแลวหรือไม เปนผลให
              พินัยกรรมเปนโมฆะตามมาตรา ๑๗๐๕ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยกรณีจึงถือไดวาเปนการ

              กระทําโดยประมาทเลินเลอในการปฏิบัติหนาที่
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90