Page 25 - New โครงการ งานจักรยานยนต์
P. 25

22





                3. ก้ำนสูบ (Connecting Rod)

                       ก้านสูบประกอบด้วยหัวก้านสูบ (Small  End)ตัวก้านสูบ (Rod) และฐานก้านสูบ

                (Large End) รูปตัดขวางของก้านสูบจะคล้ายตัว I ฐานก้านสูบบางแบบสามารถถอดแยก

                ได้ บางแบบไม่สามารถถอดแยกได้ โดยท าเป็นชิ้นเดียวกันชนิดที่ถอดแยกได้จะมีรูเป็นที่
                ส าหรับใส่สกรูก้านสูบ ซึ่งท าด้วยเหล็กที่มีความแข็งแรงเป็นพิเศษ

                2.2.4 ภำวะสมดุลเพลำลูกเบี้ยวและตัวปรับควำมดึงโซ่

                1. ภำวะสมดุล (Balancer Shaft)

                       เพลาสมดุลจะหมุนด้วยความเร็วรอบเท่ากันกับเพลาข้อเหวี่ยงมีหน้าที่ลดการสั่น

                สะเทือน ที่เกิดจากการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยงน้ าหนักของเพลาสมดุลจะขึ้นอยู่กับขนาด

                น้ าหนักลูกสูบและก้านสูบ ซึ่งจะคิดตั้งเพลาสมดุลนี้ไว้ที่ 180°  โดยใช้โซ่หรือเฟืองใน

                การขับเคลื่อน

                2. เพลำลูกเบี้ยว (Camshaft)

                       ลูกเบี้ยวมี 2 อัน อันหนึ่งส าหรับลิ้นไอดีและอีกอันส าหรับลิ้นไอเสีย ใช้ในการเปิด-
                ปิดลิ้นขนาดรูปร่างของลูกเบี้ยวจะเป็นตัวก าหนดเวลาในการเปิด-ปิดลิ้น และระยะยกตัว

                ของลิ้น

                3. ตัวปรับควำมตึงโซ่เพลำลูกเบี้ยว (Cam Chain Tensioner Adjuster)

                       ระยะเวลาการเปิด-ปิดของลิ้น อาจเกิดการผิดพลาดและดัง ถ้าเครื่องยนต์ท างาน

                ที่ความเร็วรอบสูงบ้างต่ าบ้าง หรือถ้าโซ่เพลาลูกเบี้ยวตึงเกินไป ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในการ

                ขับเคลื่อนด้วยโซ่ตัวปรับความตึงโซ่เพลาลูกเบี้ยว จะปรับความตึงของโซ่ให้เหมาะสมอยู่

                ตลอด ตัวปรับความตึงโซ่เพลาลูกเบี้ยวมี 2 ชนิด ชนิดแรกเป็นแบบปรับธรรมดา

                (Mamual Adjusting) ต้องคอยปรับตามก าหนดระยะเวลา และชนิดที่ 2 เป็นปักตั้งแบบ

                อัตโนมัติ (Automatic Adjusting)ซึ่งจะรักษาระดับความตึงที่พอเหมาะไว้ได้ตลอดเวลา
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30