Page 54 - คณิตศาสตร์และสถิติเพื่องานอาชีพ
P. 54
48
4 3 3
n (E) = C x C x C
1 1 1
= 36
36
ดังนั้น P(E) =
120
36
ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกบอลสีละ 1 ลูกเท่ากับ
120
(3) จํานวนวิธีหยิบได้ลูกบอลอย่างน้อย 2 ลูก
4 6 4
n (E) = C x C x C
2 2 3
= 94
94
ดังนั้น P(E) =
120
ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกบอลสีแดงอย่างน้อย 2 ลูกเท่ากับ 94
120
กล่าวมาพอจะสรุปได้ว่า ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E จะมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 1
เท่านั้น
3.5 ความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข
กําหนดให้ P (A) = ความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ A
P (B) = ความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ B
P (AB) หมายถึง ความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ A เมื่อเหตุการณ์ B ได้เกิดขึ้น
โดย P (A/B) = ( ∩ ) , ( ) ≠ 0
( )
ตัวอย่างที่ 3.5
1. ทอดลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง ถ้าทราบว่าลูกเต๋าลูกหนึ่งขึ้นแต้ม 5 จงหาความน่าจะ
เป็นที่
(1) ลูกเต๋าอีกลูกหนึ่งขึ้นแต้ม 1
(2) ผลรวมของแต้มบนลูกเต๋าทั้งสองมากกว่า 9