Page 21 - e-Book Cold Chain
P. 21
14
1.4) การลดความร้อนโดยใช้ระบบสุญญากาศ (Vacuum Cooling) เป็นวิธีการลด
ความร้อนที่รวดเร็วที่สุด นิยมใช้กับผักใบต่างๆ
2) การเก็บรักษาโดยห้องเย็น แบ่งเป็น 5 ประเภท ได้แก ่
2.1) ห้องแช่เย็นแบบเฉียบพลัน (Air Blast Chill Room) ใช้อณหภูมิสูงกว่าจุด
ุ
เยือกแข็งของสินค้า ส่วนใหญ่ 2-10 องศาเซลเซียส
ุ
2.2) ห้องแช่แข็ง (Freezer Room) ใช้อณหภูมิต่ ากว่าจุดเยือกแข็งของสินค้า
ส่วนใหญ่ -5 ถึง -25 องศาเซลเซียส
ุ
2.3) ห้องเย็นเก็บรักษาสินค้า (Cold Storage Room) ส่วนใหญ่ใช้อณหภูมิ -25
องศาเซลเซียส ขึ้นกับชนิดของสินค้า
ุ
2.4) ห้องแช่แข็งลมเย็นจัด (Air Blast Freezer Room) ส่วนใหญ่ใช้อณหภูมิ
-35 องศาเซลเซียส ขึ้นกับชนิดของสินค้า
2.5) ห้องเย็นพกสินค้า (Anti Room) ใช้อณหภูมิ -5 ถึง 10 องศาเซลเซียส
ุ
ั
มักใช้ลดอุณหภูมิอากาศภายนอกที่จะไหลเข้าห้องแช่แข็งลมเย็นจัด
3) วัตถุประสงค์ของการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ า คือ
3.1) ชะลอกระบวนการทางชีวเคมีที่จะเกิดกับผลิตผล เช่น การหายใจ การสุก
ในผลไม้บางชนิด ตัวอย่างเช่น มะม่วง มะละกอ เป็นต้น
3.2) ชะลอการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องของผลิตผลบางชนิด เช่น ผักกินหัว
และราก
3.3) ลดการสูญเสียน้ า เนื่องจากผลิตผลที่เก็บเกี่ยวมายังคงมีการหายใจอยู่ และยังมี
การสูญเสียน้ าเกิดขึ้นจากกระบวนการคายน้ า ท าให้เกิดการเหี่ยว บริเวณก้านผลที่ถูกตัดจากต้นเป็นบริเวณ
ที่สูญเสียน้ าได้มาก
ิ
3.4) ลดการตอบสนองต่อเอทธิลีนเนื่องจากเอทธิลีนเป็นสารประกอบอนทรีย์
ที่สังเคราะห์โดยเนื้อเยื่อพืชและเชื้อจุลินทรีย์บางชนิดก็สามารถสังเคราะห์เอทธิลีนได้ เอทธิลีนเป็นสารระเหยได้
มีคุณสมบัติเป็นฮอร์โมนพช ผลไม้บางชนิดสามารถสังเคราะห์เอทธิลีนได้จ านวนมาก ซึ่งจะเพยงพอต่อการเร่ง
ี
ื
กระบวนการเสื่อมสภาพของผลิตผลส่งผลให้มีอายุการเก็บรักษาสั้นลง
4) การขนส่ง สามารถแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ ด้วยกัน คือ
4.1) ทางบก ได้แก่รถยนต์ ซึ่งระบบท าความเย็นจะมีทั้งติดมากับตัวรถหรือ เป็น
ตู้คอนเทนเนอร์ที่มีระบบท าความเย็นในตัว และรถไฟ สามารถขนได้ในปริมาณมาก แต่ประเทศไทยไม่นิยมใช้ใน
การขนส่งผักและผลไม้ เพราะเสียเวลาขนถ่ายสินค้าไปยังตลาดอีกช่วง
ิ
ึ
้
โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
้
ิ
้
่
ื