Page 16 - e-Book Cold Chain
P. 16
9
การตลาดที่ทุกภาคส่วนสามารถเข้าถึงได้ โดยมีเป้าหมายหรือเป้าประสงค์ได้แก่ (1) สร้างเสถียรภาพราคาผลไม้
โดยค่าเฉลี่ยของราคาที่เกษตรกรขายได้จะไม่ต่ ากว่าต้นทุนการผลิต ส่งผลให้มูลค่าของผลไม้ตามราคาที่
ิ่
ิ่
เกษตรกรขายได้เพมขึ้น และเพมผลตอบแทนให้แก่เกษตรกรเป้าหมายผู้ปลูกไม้ผลเศรษฐกิจหลักไม่น้อยกว่า 7
ชนิด เมื่อด าเนินการผลิตภายใต้สภาวะภูมิอากาศปกติ โดยมีก าไรสุทธิเฉลี่ย เพมขึ้นจาก 11,000 บาท/ไร่ ในปี
ิ่
ั
2558 เป็น 14,000 บาท/ไร่ ในปี 2564 (2) เพมมูลค่าการส่งออกผลไม้สดและผลิตภัณฑ์แปรรูปให้มีอตราการ
ิ่
ิ่
เจริญเติบโตเพมขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ต่อปี และ (3) พฒนาผลไม้คุณภาพที่ได้มาตรฐาน GAP ไม่น้อยกว่า
ั
ร้อยละ 60 ของแปลงที่ขอการรับรอง GAP ของไม้ผลเศรษฐกิจหลัก 7 ชนิด ได้แก่ ทุเรียน มังคุดเงาะ ลองกอง
ั
ล าไย ลิ้นจี่ และมะม่วง ซึ่งยุทธศาสตร์การพฒนาผลไม้ไทยมีงบประมาณรวมทั้งสิ้น 773.60 ล้านบาท
อษณี วงศ์ศักดิ์ (2559) ศึกษาถึงประสิทธิภาพในการบริหารธุรกิจห้องเย็นของไทยที่ส่งผลต่อ
ุ
ระดับความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน มีวัตถุประสงค์เพอศึกษาประสิทธิภาพในการบริหารธุรกิจห้อง
ื่
เย็น โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และใช้วิธีสุ่มอย่างง่ายในการสุ่มตัวอย่างจาก
กลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจห้องเย็นของไทย จ านวน 30 คน ซึ่งสถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัย
ทางด้านเทคโนโลยี ที่มีสถานที่จัดเก็บที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากที่สุด ส่งผลต่อระดับความพร้อมด้าน
คุณภาพการบริหารต่อการเข้าสู่ระบบอาเซียนมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ปัจจัยทางด้านแรงงาน ที่มีการวางแผน
ก าลังคนให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับปริมาณงานและทันต่อการเปลี่ยนแปลง และปัจจัยทางด้านระบบ
บริหารที่มีระเบียบกฎเกณฑ์การท างาน เข้าใจงานและชัดเจน ตามล าดับ
ิ
ุ
ุ
คณะอตสาหกรรมเกษตร มหาวทยาลัยเกษตรศาสตร์ และกรมอตสาหกรรมพื้นฐานและ
ุ
การเหมองแร่ กระทรวงอตสาหกรรม (2560) ด าเนินโครงการพฒนาและส่งเสริมมาตรฐานและวิธีปฏิบัติที่ดี
ั
ื
ในการบริหารจัดการระบบโซ่ความเย็นส าหรับภาคอตสาหกรรม โดยได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับโซ่ความเย็นว่า ใน
ุ
ุ
การบริหารจัดการโซ่อปทานสินค้าจ าเป็นต้องควบคุมปัจจัยด้านโซ่ความเย็น ได้แก่ อณหภูมิ ความชื้น
ุ
บรรยากาศและสภาพแวดล้อม บรรจุภัณฑ์และการบรรจุ และเวลาด าเนินงานให้สั้นที่สุด นอกจากนี้ ยังได้
ุ
ก าหนดระดับอณหภูมิที่เหมาะสมส าหรับแต่ละผลิตภัณฑ์ ซึ่งในส่วนของผลิตภัณฑ์อาหารจ าแนกเป็น 4 ระดับ
ุ
ุ
คือ 1) อณหภูมิแวดล้อม (อณหภูมิมากกว่าหรือเท่ากับ 25 องศาเซลเซียส) 2) แช่เย็น (อณหภูมิ 2 ถึง 5 องศา
ุ
ุ
เซลเซียส) 3) แช่แข็ง (อณหภูมิน้อยกว่าหรือเท่ากับ -18 องศาเซลเซียส) ส าหรับอาหารแช่แข็งพร้อมปรุงหรือ
พร้อมทาน 4) แช่แข็ง (อุณหภูมิน้อยกว่าหรือเท่ากับ -25 องศาเซลเซียส) ส าหรับไอศกรีม
สมาคมคลังสินค้าห้องเย็นนานาชาติ (The International Association of Refrigerated
Warehouses หรือ IARW) (2561) ได้รายงานความจุห้องเย็นโลก ปี 2561 (2018 GCCA Global Cold
Storage Capacity Report) จากการส ารวจความจุคลังสินค้าห้องเย็น 60 ประเทศ (ไม่มีประเทศไทย) ประเทศ
ที่มีความจุคลังสินค้าห้องเย็นสูงสุด 5 อนดับแรก ได้แก่ 1) อนเดีย 150 ล้านลูกบาศก์เมตร 2) สหรัฐอเมริกา
ิ
ั
ั
131 ล้านลูกบาศก์เมตร 3) จีน 105 ล้านลูกบาศก์เมตร 4) ญี่ปุ่น 38 ล้านลูกบาศก์เมตร และ 5) องกฤษ 24
ั
ล้านลูกบาศก์เมตร แต่เมื่อพจารณาดัชนีการพฒนาตลาดคลังสินค้าห้องเย็น (Refrigerated Warehouse
ิ
ื
้
โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
ึ
่
ิ
้
้
ิ