Page 18 - e-Book Cold Chain
P. 18
11
เกิน 50 คน ไม่มีการแกะ ล้าง หรือแปรสภาพวัตถุดิบ จ านวน 179 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 19.61 และ
ี่
่
3) โรงงานจ าพวกท 3 เป็นโรงงานที่มีเครื่องจักรเกิน 50 แรงม้า และคนงานไมเกิน 50 คน มีการแกะ ล้าง หรือ
แปรสภาพวัตถุดิบ จ านวน 695 แห่งคิดเป็นร้อยละ 76.12 โดยห้องเย็นส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเทพฯ ภาคกลาง
และภาคใต้ ซึ่งปัจจุบันไม่สามารถสรุปความจุของห้องเย็นในแต่ละภูมิภาคที่ชัดเจนได้ เนื่องจากมีข้อมูล
ไม่เพียงพอ
กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ (2562) จัดท าข้อมูลระบบตลาดและเครื่องมือทางการ
ตลาด โดยระบุว่า ไทยมีห้องเย็น 633 แห่ง แบ่งเป็น ห้องเย็นเอกชน (ใช้ในกิจการของตนเอง) ร้อยละ 73 และ
ห้องเย็นสาธารณะ (ให้บริการบุคคลภายนอก) ร้อยละ 27 เมื่อแบ่งจ านวนห้องเย็นสาธารณะตามประเภทสินค้า
พบว่า แบ่งเป็นห้องเย็นส าหรับ ผักผลไม้ ร้อยละ 23.39 อาหารทะเลและเนื้อสัตว์ร้อยละ 43.27
ผักผลไม้ อาหารทะเล และเนื้อสัตว์ ร้อยละ 21.05 และอาหารส าเร็จรูป ร้อยละ 4.09 อื่นๆ ร้อยละ 8.19
กรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (2562) จัดท าข้อมูลอปกรณ์การตลาด
ุ
โดยระบุว่า ปัจจุบันสหกรณ์มีห้องเย็นทั้งหมด 42 แห่ง แบ่งตามการใช้ประโยชน์ พบว่า ใช้ตลอดปี 28 แห่ง
(ร้อยละ 66.67) ใช้ตามฤดูกาล 6 แห่ง (ร้อยละ 14.29) ให้เช่า 4 แห่ง (ร้อยละ 9.52) และไม่ใช้ 4 แห่ง
(ร้อยละ 9.52) แบ่งตามภาค พบว่า ภาคเหนือ 12 แห่ง (ร้อยละ 28.57) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 6 แห่ง (ร้อย
ละ 14.29) ภาคกลาง 9 แห่ง (ร้อยละ 21.43) ภาคตะวันออก 10 แห่ง (ร้อยละ 23.81) และภาคใต้
ื
5 แห่ง (ร้อยละ 11.90) แบ่งตามประเภทสินค้า พบว่า ผักผลไม้ 14 แห่ง (ร้อยละ 33.33) พชไร่ 6 แห่ง
(ร้อยละ 14.29) โคนม 8 แห่ง (ร้อยละ 19.05) โคขุน 3 แห่ง (ร้อยละ 7.14) สุกร 1 แห่ง (ร้อยละ 2.38)
ซึ่งส่วนใหญ่ห้องเย็นของสหกรณ์จะมีก าลังการผลิตของเครื่องจักรเกิน 50 แรงม้า
2.2 แนวคิดและทฤษฎี
2.2.1 ความหมายของโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
Li and Chang (2008) ให้ค าจ ากัดความว่าโลจิสติกส์ หมายถึง กิจกรรมที่ส่งผลให้
เกิดการไหลของสินค้า โดยสินค้าหมายรวมถึงสินค้าทั่วไปที่สามารถหาซื้อได้ เช่น ผลิตภัณฑ์การเกษตร พชไร่
ื
ั
พชสวน การประมง วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์กึ่งส าเร็จรูป อะไหล่สินค้าส าเร็จรูป พสดุ และสิ่งของเบ็ดเตล็ด
ื
นอกจากนี้สินค้ายังหมายถึงการบริการอย่างมืออาชีพ อนได้แก่ การสนับสนุนงานส านักงาน บรรจุภัณฑ์ ดังนั้น
ั
การบริการด้านโลจิสติกส์จึงประกอบด้วยเงื่อนไขของบุคคล สถานที่ และข้อมูลเข้าไว้ด้วยกัน
ี
ทวศักดิ์ เทพพิทักษ์ (2554) ให้ค าจ ากัดความว่า การจัดการโลจิสติกส์ หมายถึง ส่วน
หนึ่งของโซ่อปทาน ซึ่งเป็นกระบวนการในการวางแผน การน าเสนอ และควบคุมการไหลที่มีประสิทธิภาพและ
ุ
ประสิทธิผล และการเก็บสินค้า บริการ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากจุดเริ่มต้นในการผลิตไปสู่จุดสุดท้ายของการ
บริโภค เพื่อที่จะตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
สภาวิชาชีพชั้นสูงด้านการจัดการโซ่อุปทาน (Council of Supply Chain
Management Professionals: CSCMP) (2013) ได้ให้ค าจ ากัดความว่า
ื
โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
้
ึ
้
ิ
้
ิ
่