Page 22 - e-Book Cold Chain
P. 22

15



                                         4.2) ทางน้ า ได้แก่ การขนส่งทางเรือ เป็นวิธีที่ประหยัดที่สุด และได้รับความนิยม
                  สูงสุด โดยแต่ละประเทศจะมีท่าเรือขนาดใหญ่ไว้คอยให้บริการในการขนถ่ายสินค้าลงเรือ ซึ่งประเทศไทยก็มี


                  ท่าเรือลักษณะนี้ เช่น ท่าเรือคลองเตย ท่าเรือแหลมฉบัง เป็นต้น
                                        ส าหรับการส่งออกผักและผลไม้ไปยังต่างประเทศ ส่วนใหญ่จะบรรทุก ใส่ตู้คอนเทนเนอร์


                  ที่มีระบบท าความเย็น เนื่องจากต้องใช้ระยะเวลาในการขนส่งยาวนาน และขึ้นอยู่กับระยะทางระหว่างประเทศ
                  ด้วย ผลไม้บางชนิดอาจจ าเป็นใช้เป็นต้องใช้ตู้ที่มีระบบควบคุมสภาพบรรยากาศภายใน (CA) ข้อดีของการขนส่ง


                  ทางเรือ คือ สามารถบรรทุกสินค้าได้ปริมาณมาก แต่มีข้อจ ากัดคือ ใช้ระยะเวลานาน

                                      4.3) ทางอากาศ ได้แก่ เครื่องบิน เป็นวิธีที่ขนส่งสินค้าที่สั้นที่สุด แต่เสียค่าใช้จ่ายสูง

                  ที่สุด เหมาะกับสินค้าเกษตรที่มีมูลค่าสูง บอบบาง และมีอายุการเก็บรักษาสั้น เช่น เห็ด สตรอเบอร์รี่

                  ผักสลัด กล้วยหอมทอง มะม่วงน้ าดอกไม้ ดอกกล้วยไม้ เป็นต้น

                                2.2.5 แนวคิดเรื่องระบบต้นทุนฐานกิจกรรม


                                      Kaplan & Cooper (1988) ได้สนับสนุนแนวคิดต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity Based

                  Costing : ABC) ทั้งในเชิงทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติ โดยแบ่งการด าเนินงานขององค์กรออกเป็น

                  กิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนเวลาที่ใช้ในแต่ละกจกรรม ซึ่งสรุปได้ว่า แนวคิด ABC เกี่ยวข้องกบ 5 องค์ประกอบ คือ
                                                      ิ
                                                                                           ั
                  1) การวิเคราะห์กิจกรรม 2) การระบุต้นทุนกิจกรรม 3) การระบุตัววัดผลการปฏิบัติงาน ต้นทุนต่อหน่วยของผล

                  ที่ได้ สัดส่วนเวลาที่ใช้ และคณภาพของผลที่ได้ 4) การระบุความเกี่ยวข้องของผลที่ได้ในแต่ละกิจกรรม และตัว
                                         ุ
                  ผลักดันต้นทุนซึ่งเป็นข้อมูลในการควบคุมและลดต้นทุนของกิจการ อกทั้งใช้เป็นฐานในการค านวณต้นทุนของ
                                                                           ี
                  กิจกรรมที่เกิดขึ้น และ 5) การระบุต้นทุนกิจกรรมกับสิ่งที่จะน ามาคิดต้นทุน ทั้งนี้ ระบบต้นทุนฐานกิจกรรมเป็น

                  วิธีที่ช่วยในการค านวณต้นทุนของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ให้ถูกต้องมากขึ้นกว่าระบบการค านวณต้นทุนโดยใช้

                  ระบบบัญชีทั่วไป


                               2.2.6 แนวคิดเรื่องการค านวณมูลค่าเพิ่มของผลผลิต

                                      มณีรัตน์ ภิญโญภูษาฤกษ์ และคณะ (2553) ได้อธิบายแนวคิดกระแสหมุนเวียนของ

                  การใช้จ่ายและการผลิตในระบบเศรษฐกิจ รวมถึงแนวคิดการค านวณมูลค่าเพิ่มของผลผลิตไว้สรุปได้ ดังนี้

                                      1) ภาคครัวเรือน เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต และเป็นผู้บริโภคผลผลิตที่ภาคธุรกิจผลิต

                  โดยใช้ปัจจัยการผลิตทั้งหมดของครัวเรือน ซึ่งหากวัดกระแสการหมุนเวียนที่เกิดขึ้นในวงจร พบว่า มูลค่าชอง

                  ผลผลิต เท่ากับ รายได้ เท่ากับ รายจ่ายในการบริโภค เมื่อมีภาครัฐบาลและภาคการค้าต่างประเทศเข้ามา

                  เกี่ยวข้องในวงจรเศรษฐกิจ จะท าให้กระแสการหมุนเวียนของการใช้จ่ายซับซ้อนขึ้น อย่างไรก็ตาม เมื่อวัด

                  กระแสการหมุนเวียนในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง มูลค่าของผลผลิต รายได้ และรายจ่ายในการซื้อสินค้าและ







                                                                                ้
                                                                                               ื
                                                                                                              ้
            โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
                                           ิ
                                                   ่
                                                                    ิ
                  ึ
                                                                      ้
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27