Page 23 - e-Book Cold Chain
P. 23
16
ั
บริการยังคงเท่าเดิม แนวคิดได้พฒนาไปสู่ วิธีการค านวณผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ 3 วิธี ด้วยกัน
ประกอบด้วย วิธีค านวณด้านผลผลิต วิธีค านวณทางด้านรายจ่าย และวิธีค านวณทางด้านรายได้
2) การค านวณผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ด้านผลผลิต เป็นการค านวณมูลค่าของ
สินค้าขั้นสุดท้ายที่มีการซื้อขายกันในตลาด โดยมีหลักการค านวณ คือ น าราคาสินค้าแต่ละชนิดในปีนั้น คูณ
ด้วยปริมาณสินค้าชนิดนั้นที่ผลิตได้ในปีที่ค านวณ แล้วน ามารวมกัน ซึ่งการค านวณผลิตภัณฑ์มวลรวม
ิ่
ภายในประเทศ โดยวิธีผลผลิต นิยมใช้วิธีค านวณแบบมูลค่าเพม (Value Added Approach) ที่เป็นการน า
มูลค่าเพิ่มของการผลิตในแต่ละขั้นตอนมารวมกัน
3) การค านวณมูลค่าเพิ่มในแต่ละขั้นตอนการผลิต เขียนเป็นสมการได้ ดังนี้
มูลค่าเพิ่ม = มูลค่าของผลผลิตแต่ละขั้นตอน – มูลค่าของสินค้าขั้นกลาง
การผลิตสินค้าแต่ละชนิดมีหลายขั้นตอนการผลิต ซึ่งในแต่ละขั้นตอนของการผลิต
จะท าให้สินค้ามีมูลค่าเพมขึ้น เช่น ข้าวสารที่บริโภคมีขั้นตอนการผลิต โดยเริ่มจากชาวนาน าเมล็ดพนธุ์ข้าวไป
ั
ิ่
ปลูก และเก็บเกี่ยว นวดข้าว จนได้ข้าวเปลือก ชาวนาขายข้าวเปลือกให้กับโรงสี โดยมีมูลค่าผลผลิตข้าว
่
ที่ขาย 1,040 บาท โรงสีน าไปสีเป็นเมล็ดข้าวสาร เสร็จแล้วขายให้กับพอค้า โดยมีมูลค่าผลผลิตข้าวสาร
ที่ขาย 2,800 บาท หลังจากนั้น พ่อค้าขายให้กับผู้บริโภค ในรูปข้าวสารบรรจุถุง โดยมีมูลค่าผลผลิตที่ขาย 6,000
ิ่
บาท จากกรณีนี้ ค านวณมูลค่าเพมของการผลิตข้าว ในแต่ละขั้นตอนของผู้เกี่ยวข้องได้ คือ ชาวนา
มีมูลค่าเพมของการผลิตข้าว 1,040 บาท โรงสีมีมูลค่าของการผลิตข้าว 1,760 บาท (ค านวณจาก 2,800
ิ่
หักด้วย 1,040) พอค้ามีมูลค่าของการผลิตข้าว 3,200 บาท (ค านวณจาก 6,000 หักด้วย 2,800) ทั้งนี้
่
หากน ามูลค่าเพิ่มในแต่ละขั้นตอนการผลิตมารวมกันก็จะได้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศในสินค้านั้นต่อไป
2.3 นโยบาย มาตรการ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการโซ่ความเย็น (Cold Chain)
ั
ื่
การศึกษาการจัดท าแนวทางการพฒนาเพอการบริหารจัดการโซ่ความเย็น (Cold Chain)
ในสินค้าพืชผักและผลไม้ของสถาบันเกษตรกรในพื้นที่ EEC เป็นการด าเนินการเพื่อน าข้อมูลมาใช้ในการกาหนด
กรอบแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ Cold Chain ของสถาบันเกษตรกรที่ท าธุรกิจรวบรวม
สินค้าเกษตร ถือเป็นการด าเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในเรื่องต่อไปนี้
2.3.1 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพฒนาเพมมูลค่าระบบห่วงโซ่อปทาน กลยุทธ์ที่ 1 ยกระดับการบริหารจัดการ
ิ่
ั
ุ
โลจิสติกส์และห่วงโซ่อปทานภาคเกษตรกรรมและภาคอตสาหกรรมให้ได้มาตรฐาน โดยในภาคการเกษตร กษ.
ุ
ุ
เป็นหน่วยงานเจ้าภาพก ากับดูแลห่วงโซ่อปทานภาคการเกษตรที่ส าคัญตลอดห่วงโซ่อปทาน สนับสนุนการ
ุ
ุ
พัฒนาระบบโซ่ความเย็น (Cold Chain System) เพื่อลดการสูญเสียที่เกิดขึ้นทั้งกระบวนการ
้
ื
โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
ึ
ิ
่
้
้
ิ