Page 20 - e-Book Cold Chain
P. 20
13
2.2.3 การจัดการระบบโซ่ความเย็นในผลผลิตสด
สมภพ อยู่เอ (2552) กล่าวว่า ในอุตสาหกรรมการผลิตผักและผลไม้สดเพื่อการส่งออก
ื่
หรือจัดจ าหน่ายในประเทศและต่างประเทศ การจัดการกับระบบความเย็นเพอรักษาคุณภาพของสินค้า เป็น
สิ่งที่มีความจ าเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจาก อณหภูมิของผลิตผลสดนับตั้งแต่ภายหลังการเก็บเกี่ยว ผ่านขั้นตอน
ุ
กระบวนการต่าง ๆ จนกลายเป็นสินค้าจนกระทั่งถึงมือผู้บริโภคนั้น เป็นปัจจัยส าคัญเพอคงคุณภาพของสินค้า
ื่
ไว้ให้ยาวนานที่สุด ส าหรับผลิตภัณฑ์สินค้าที่เป็นผักและผลไม้สดนั้น การจัดการกับระบบโซ่ความเย็นควรเริ่มท า
ตั้งแต่ภายหลังการเก็บเกี่ยว โดยเลือกอณหภูมิที่เหมาะสมหรือดีที่สุดในการเก็บรักษาผักและผลไม้ชนิดนั้น ๆ
ุ
ี
ซึ่งผักและผลไม้ต่างชนิดกันจะมีอณหภูมิที่เหมาะสมในการเก็บรักษาต่างกันออกไป รวมถึงอายุของผลิตผลอกด้วย
ุ
พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และนิธิยา รัตนาปนนท์ (ม.ป.ป.) ได้ก าหนดเกณฑ์ของ
อณหภูมิการเกบรักษาผลผลิต เช่น ทุเรียน เก็บรักษาที่อณหภูมิ 4 – 6 องศาเซลเซียส จะมอายุการเก็บรักษา
ุ
ุ
ี
็
6 – 8 สัปดาห์ มังคุด เก็บรักษาที่อณหภูมิ 13 องศาเซลเซียส จะมีอายุการเก็บรักษา 2 – 4 สัปดาห์ เงาะ
ุ
เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 12 องศาเซลเซียส จะมีอายุการเก็บรักษา 1 – 3 สัปดาห์ มะม่วง เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 13 องศา
เซลเซียส จะมีอายุการเก็บรักษา 2 – 3 สัปดาห์ ขนุน เก็บรักษาที่อณหภูมิ 13 องศาเซลเซียส จะมีอายุการเก็บ
ุ
รักษา 2 – 6 สัปดาห์ คะน้า เก็บรักษาที่อณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส จะมีอายุการเก็บรักษา 2 – 3 สัปดาห์ เห็ด เก็บ
ุ
รักษาที่อณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส จะมีอายุการเก็บรักษา 34 วัน และกระเจี๊ยบเขียว เก็บรักษาที่อณหภูมิ
ุ
ุ
7 – 10 องศาเซลเซียส จะมีอายุการเก็บรักษา 7 – 10 วัน เป็นต้น
2.2.4 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบโซ่ความเย็นในผลิตผลสด
สมภพ อยู่เอ (2552) กล่าวว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบโซ่ความเย็น โดย
มีผลกระทบต่อคุณภาพและอัตราความสูญเสียของผลิตผลสดมีอยู่หลายปัจจัย แต่ละปัจจัยมีรายละเอียด ดังนี้
ุ
ุ
1) การลดอณหภูมิผลิตผล (Precooling) เป็นการลดอณหภูมิหรือความร้อนของ
ผลิตผลให้เย็นลง ท าให้มีอายุการเก็บรักษาหรือการวางจ าหน่ายสินค้าให้ยาวนานขึ้น ซึ่งวิธีการลดอณหภูมิ
ุ
มีดังต่อไปนี้
ุ
1.1) การลดอณหภูมิด้วยอากาศเย็น (Room Cooling) มีวิธีการโดยน าผลิตผล
ไปไว้ในห้องเย็นธรรมดาที่มีอุณหภูมิต่ า แต่ไม่เหมาะส าหรับผลิตผลที่ต้องการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็ว
1.2) การลดความร้อนโดยการผ่านอากาศเย็น (Forced Air Cooling) เป็นการลด
ความร้อนโดยใช้การดูดหรือเป่าอากาศเย็นเข้าไปในท่อหรืออุโมงค์ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ การดันอากาศ
เย็นผ่านผลิตผล (Tunnel Cooler) การลดความร้อนเมื่อผลิตผลบรรจุอยู่ในภาชนะ (Serpentine Cooler)
และการลดความร้อนสูงส าหรับผลิตผลจ านวนน้อย (Cold-wall Cooler)
1.3) การลดความร้อนโดยใช้น้ าเย็น (Hydro Cooling) โดยใช้น้ าเย็นจัดไหลผ่าน
่
ผลผลิตอย่างรวดเร็ว สามารถท าได้หลายรูปแบบ เช่น การปล่อยให้น้ าเย็นไหลผ่านผลิตผล (Flooding) การฉีดพน
ด้วยน้ าเย็น (Spray) และการจุ่มผลิตผลซึ่งบรรจุอยู่ในภาชนะลงในถังน้ าเย็น (Immersion)
้
โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
ื
่
ึ
ิ
้
้
ิ