Page 15 - e-Book Cold Chain
P. 15

8




                  อานาจการเจรจาต่อรอง โดยมีสาเหตุเกิดจากปัจจัยหลายประการ อาทิ ผลของการใช้ทรัพยากรประเภท
                  สินทรัพย์ประจ าที่ไม่เหมาะสม อาทิ การเลือกใช้ยานพาหนะที่ไม่เหมาะสมกับปริมาณผลผลิต การก่อสร้างโกดัง

                  เก็บสินค้าที่มีขนาดและ/หรือวัสดุไม่เหมาะสมกับปริมาณและลักษณะของผลผลิต ผลของการจ้างแรงงานใน
                                                                          ุ
                  จ านวนที่ไม่เหมาะสมกับปริมาณการผลิตซึ่งเกิดจากข้อจ ากัดด้านอปทานในตลาดแรงงาน และผลของความ


                  แตกต่างในอานาจการเจรจาต่อรองที่ก่อให้เกิดต้นทุนที่สูงกับผู้เล่นรายเล็กที่มีอานาจต่อรองต่ า อาทิ เกษตรกร
                  รายเล็กที่มีผลผลิตไม่มากจะไม่สามารถเจรจาให้พอค้ามารับสินค้าได้ ท าให้มีภาระค่าใช้จ่ายในการขนส่งที่ไม่มี
                                                           ่
                  ประสิทธิภาพอันเกิดจากการบรรทุกที่ไม่เต็มก าลัง


                               Joshi R.et al. (2015) ศึกษาเกี่ยวกับตัวชี้วัดประสิทธิภาพการจัดการโซ่ความเย็นในสินค้า
                  อาหาร โดยใช้ทฤษฎีกราฟ (Graph Theory) เพื่อที่จะพัฒนาเครื่องมือในการสร้างเกณฑ์ในการเปรียบวัดระดับ

                  ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการระบบโซ่อุปทานความเย็นของธุรกิจ ซึ่งเครื่องมือดังกล่าวจะท าให้ทราบถึงจุด
                          ่
                                                                                     ื่
                  แข็งจุดออนในการจัดการโซ่ความเย็นของธุรกิจ หากเปรียบเทียบกับธุรกิจอนที่เป็นผู้น าในตลาด ทั้งนี้
                  การพฒนาประสิทธิภาพการจัดการโซ่ความเย็นดังกล่าวได้ก าหนด 7 ตัวชี้วัดหลัก ได้แก่ 1) ต้นทุน 2) คุณภาพ
                       ั
                  และความปลอดภัย 3) การตรวจสอบย้อนกลับ 4) ระดับการให้บริการ 5) ผลตอบแทน ในสินทรัพย์ 6) ความเป็น
                  นวัตกรรม และ 7) ความสัมพนธ์กับผู้เกี่ยวข้องของธุรกิจ โดยจะมีการประเมินประสิทธิภาพการจัดการ
                                            ั
                  โซ่ความเย็นตามตัวชี้วัดดังกล่าว แยกตามกิจกรรมในการจัดการผลผลิต ซึ่งผลจากการประเมินดังกล่าว จะ

                  สามารถน าไปใช้ในการปรับปรุงจุดอ่อน และเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ธุรกิจต่อไป

                                                                                                         ั
                               กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (2558) ได้จัดท ายุทธศาสตร์พฒนา
                  ผลไม้ไทย พ.ศ. 2558 – 2564 มีรายละเอยดดังนี้ 1) วิสัยทัศน์ คือ ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตและตลาดผลไม้
                                                     ี
                                                                             ั
                                                                                             ิ่
                  เมืองร้อนที่มีคุณภาพได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับในระดับสากล 2) พนธกิจ ได้แก่ (1) เพมประสิทธิภาพการ
                  ผลิต โดยเน้นการลดต้นทุน การพฒนาคุณภาพและขยายการผลิตนอกฤดู และการจัดการผลผลิตหลังการเก็บ
                                              ั
                                                                                              ั
                                                  ิ่
                                                                         ิ่
                  เกี่ยว เพอสร้างโอกาสการตลาดและเพมรายได้จากการผลิต (2) เพมมูลค่าของผลผลิต โดยพฒนาและส่งเสริม
                         ื่
                                                                                     ุ
                  การแปรรูปที่เน้นการต่อยอดผลงานวิจัยด้านผลิตภัณฑ์แปรรูปสู่การผลิต เชิงอตสาหกรรม (3) ขยายตลาด
                                                              ั
                  ภายในประเทศและตลาดส่งออกต่างประเทศ โดยพฒนาตลาดกลางผลไม้สนับสนุนการกระจายสินค้าของ
                  ภาคเอกชน การเชื่อมโยงการตลาด รวมทั้งให้ความส าคัญทั้งตลาดหลักเดิม ตลาดใหม่และตลาดเพอนบ้าน
                                                                                                      ื่
                                                 ั
                                                                             ุ
                  ชายแดน และการเจรจาแก้ไขปัญหาอนเนื่องมาจากกฎระเบียบที่เป็นอปสรรคต่อการส่งออก (4) ส่งเสริมและ
                                                                        ั
                            ั
                  ประชาสัมพนธ์การบริโภคผลไม้ไทยทั้งในและต่างประเทศ (5) พฒนาองค์กรและเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง
                  (6) พัฒนาการรับรองคุณภาพสินค้าไม้ผลเมืองร้อน และ (7) จัดท าระบบฐานข้อมูลไม้ผลให้ครบถ้วนในทุกด้าน
                  ถูกต้องทันเหตุการณ์และเป็นเอกภาพ

                                                    ้
                                                                                             ื่
                               ยุทธศาสตร์พัฒนาผลไมไทย พ.ศ. 2558 – 2564  มีวัตถุประสงค์ (1) เพอให้มีกรอบทิศทาง
                       ั
                  การพฒนาการผลิต การตลาดและการบริหารจัดการผลไม้อย่างเป็นระบบ มีเอกภาพ และสามารถแก้ไขปัญหา
                                        ื่
                  ผลไม้ได้อย่างยั่งยืน (2) เพอให้เกษตรกรชาวสวนผลไม้มีความมั่นคงในอาชีพ รายได้ และมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น (3)
                        ิ่
                    ื่
                                                                                ื่
                  เพอเพมมูลค่าของผลไม้ไทยและขยายการส่งออกให้มากขึ้น และ (4) เพอให้มีฐานข้อมูลด้านการผลิตและ




                                                                                               ื
            โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
                                                                                                              ้
                                                   ่
                  ึ
                                           ิ
                                                                                ้
                                                                      ้
                                                                    ิ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20