Page 14 - e-Book Cold Chain
P. 14
7
คณะบริหารธุรกิจ มหาวทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2556) ศึกษาต้นทุนโลจิสติกส์ส าหรับการ
ิ
ส่งออกสินค้าเกษตรไปสู่ตลาดในเขตเศรษฐกิจอาเซียน กรณีสินค้า : ข้าว มันส าปะหลัง ยางพารา ผักและผลไม้
เพอให้ได้มาซึ่งต้นทุนโลจิสติกส์ในการส่งออกสินค้าทางการเกษตรใน 4 กลุ่มหลัก คือ ข้าว มันส าปะหลัง
ื่
ยางพารา ผักและผลไม้ โดยในส่วนของผักและผลไม้ครอบคลุมสินค้า 5 ประเภท ได้แก่ ล าไย ทุเรียน
ุ
่
หน่อไม้ฝรั่ง กระเจี๊ยบเขียว และข้าวโพดฝักออน โดยเป็นการศึกษาในระดับอตสาหกรรมตลอดโซ่อปทาน
ุ
ื่
เริ่มต้นตั้งแต่กิจกรรมการบรรจุสินค้าที่โรงงานเพอรอเคลื่อนย้าย ถึงกิจกรรมการน าสินค้าขึ้นยานพาหนะ
ที่ใช้ในการขนส่งระหว่างประเทศ ซึ่งได้แก่ เรือและเครื่องบิน (เนื่องจากสินค้าทางการเกษตรที่ท าการศึกษา
มีการส่งออกภายใต้เงื่อนไข FOB) ด้วยวิธีการส ารวจด้วยแบบสอบถามและการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เกี่ยวข้อง
ุ
ใน โซ่อปทาน เช่น ผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ และผู้ส่งออก เกี่ยวกับศูนย์กระจายสินค้า (ICD) ลาดกระบัง
บริการของท่าเรือน้ าลึกแหลมฉบัง และท่าเรือกรุงเทพ
ผลการศึกษาพบว่า 1) ระดับต้นทุนต่อน้ าหนัก ต้นทุนต่อราคาขาย รวมถึงโครงสร้างต้นทุน
ระหว่างผู้เล่นแตกต่างกัน เกิดจากลักษณะของการด าเนินกิจกรรมที่แตกต่างกัน รวมถึงปัจจัยในส่วนของราคา
สินค้าเกษตรที่ไม่ไปในทิศทางเดียวกับต้นทุนจริง 2) ภาพรวมในสินค้าส่วนใหญ่ ต้นทุนโลจิสติกส์ในส่วนของการ
ส่งออกอยู่ในระดับที่ต่ า 3) ต้นทุนในการส่งสินค้าจากโรงงานมายังท่าเรือหรือท่าอากาศยานถือเป็นต้นทุน
ซึ่งมีสัดส่วนที่สูงโดยเปรียบเทียบ โดยต้นทุนดังกล่าวมีความแตกต่างกันไปขึ้นกับปัจจัย 2 ประการ คือ
ระยะทาง และอัตราการบรรทุก โดยในส่วนของสินค้าประเภทผักพบปัญหาในบางช่วงมีการขนส่งไม่เต็ม คันรถ
ื้
4) ต้นทุนในส่วนของการด าเนินการส่งออกในพนที่ท่าเรือหรือท่าอากาศยานนั้นเป็นการค านวณจากฐาน
ค่าใช้จ่ายที่ผู้ส่งออกจ่ายให้กับผู้เกี่ยวข้อง เช่น Freight Forwarder, Liner รวมถึงผู้บริหารท่าเรือ ฯลฯ
ซึ่งค่าใช้จ่ายดังกล่าวโดยส่วนใหญ่ไม่มีการให้รายละเอยดตามกิจกรรมโลจิสติกส์ แต่แสดงเป็นค่าบริการรวม
ี
ยากต่อการวิเคราะห์ปริมาณกิจกรรมโลจิสติกส์
คณะบริหารธุรกิจ มหาวทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2556) ศึกษาต้นทุนโลจิสติกส์สินค้าเกษตร
ิ
ื่
ที่ส าคัญของประเทศไทยเพอรองรับการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โครงการย่อย “ต้นทุนโลจิสติกส์
สินค้าเกษตรที่ส าคัญของประเทศไทย กรณีศึกษา : ข้าว ยางพารา มันส าปะหลัง ผักและผลไม้”
ื่
มีวัตถุประสงค์เพอให้ได้มาซึ่งต้นทุนโลจิสติกส์ในประเทศของสินค้าทางการเกษตรใน 4 กลุ่มหลัก คือ ข้าว
ุ
ุ
มันส าปะหลัง ยางพารา ผักและผลไม้ โดยเป็นการศึกษาในระดับอตสาหกรรมตลอดโซ่อปทาน เริ่มต้นตั้งแต่
ื่
กิจกรรมการเก็บเกี่ยวผลผลิตของเกษตรกร ถึงกิจกรรมการเตรียมสินค้าเพอเคลื่อนย้ายออกจากโรงงานแปรรูป
ด้วยวิธีการส ารวจด้วยแบบสอบถามและการสัมภาษณ์เชิงลึก
ผลการศึกษาพบว่า ต้นทุนโลจิสติกส์ในส่วนของเกษตรกรจะอยู่ในระดับสูงเมื่อเปรียบเทียบกับ
ผู้เล่นอน โดยต้นทุนที่ส าคัญ คือ ต้นทุนค่าแรงและต้นทุนค่ายานพาหนะ ซึ่งโดยส่วนใหญ่มีการใช้ทรัพยากร
ื่
อย่างไม่มีประสิทธิภาพ อาทิ การขนส่งไม่เต็มคันรถ การใช้แรงงานมากเกินความจ าเป็น ซึ่งทั้งหมดเกิดจาก
ลักษณะของการด าเนินการด้านการเกษตรที่ไม่สามารถก าหนดปริมาณผลผลิตให้เหมาะสมได้ตลอด ขณะที่
ลักษณะของการเก็บเกี่ยวเป็นช่วง ๆ ไม่มีการจ้างแรงงานประจ า ท าให้เกิดปัญหาแรงงาน ความแตกต่างใน
ื
ึ
โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
้
ิ
้
่
ิ
้