Page 9 - e-Book Cold Chain
P. 9

2



                                                                                   ั
                  โดยนอกจากจะเป็นการยกระดับการบริหารจัดการโลจิสติกส์สินค้าเกษตร การพฒนากระบวนการส่งมอบสินค้า
                  เกษตรที่ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ลดความสูญเสียและรักษาคุณภาพสินค้าเกษตร ทั้งระหว่างการเก็บรักษาและ

                                     ิ่
                  ขนส่งแล้ว ยังเป็นการเพมมูลค่าสินค้าให้แก่เกษตรกร และสถาบันเกษตรกรด้วย
                             ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) โดยการมอบหมายจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.)

                                                                                      ุ
                  ให้เป็นหน่วยงานหลักในการด าเนินภารกิจด้านการวางแผนพฒนาโลจิสติกส์และโซ่อปทานภาคเกษตร และ สศก.
                                                                   ั
                                                                                                 ั
                                                   ั
                  ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการพฒนาระบบโลจิสติกส์การเกษตร ได้จัดท าแผนแม่บทการพฒนาโลจิสติกส์
                  และโซ่อุปทานภาคการเกษตร พ.ศ. 2560–2564 เพื่อเป็นกรอบในการขับเคลื่อนการพฒนาโลจิสติกส์ภาคการเกษตร
                                                                                     ั
                                                                 ิ่
                  เพอแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ โดยให้ความส าคัญกับการเพมประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์และ
                    ื่
                  ส่งเสริมให้สถาบันเกษตรกรเป็นกลไกหลักเชื่อมโยงกับผู้ประกอบการตลอดโซ่อปทานทั้งการเชื่อมโยงเป็นเครือข่าย
                                                                                ุ
                                                                                                        ิ่
                  ระบบการผลิตและการตลาด และภาคการบริการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเพมความสามารถในการสร้างมูลค่าเพมทาง
                                                                           ิ่
                  เศรษฐกิจการเกษตรให้แก่เกษตรกร สถาบันเกษตรกรและผู้ประกอบการภาคเกษตร
                             จากความส าคัญในเรื่องดังกล่าว สศก. จึงเห็นควรด าเนินการโครงการศึกษาการจัดท ากรอบแนวทาง

                       ั
                             ื่
                  การพฒนาเพอการบริหารจัดการโซ่ความเย็น (Cold Chain) ในสินค้าพชผักและผลไม้ของสถาบันเกษตรกรในพนที่
                                                                                                          ื้
                                                                          ื
                                                                                               ุ
                            ิ
                                                                     ื่
                      ั
                                                                                                     ื
                  เขตพฒนาพเศษภาคตะวันออก (EEC) และจังหวัดใกล้เคียง  เพอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในโซ่อปทานพชผักและ
                  ผลไม้ ทั้งในและนอกสังกัด กษ. น าไปใช้เป็นแนวทางในการจัดท าแผนงาน/โครงการและงบประมาณที่เป็นรูปธรรม
                  ที่ชัดเจน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการธุรกิจของสถาบันเกษตรกรให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
                  1.2 วัตถุประสงค์
                         1.2.1 เพอศึกษารูปแบบ ศักยภาพการบริหารจัดการ และประโยชน์ของการใช้ระบบ โซ่ความเย็น
                                 ื่
                  (Cold Chain) ในสินค้าพืชผักและผลไม้ของสถาบันเกษตรกร

                                                             ื้
                          1.2.2 เพอศึกษาศักยภาพความพร้อมของพนที่ EEC (จังหวัดชลบุรี ฉะเชิงเทรา และระยอง) ในการ
                                 ื่
                  บริหารจัดการระบบโซ่ความเย็นสินค้าเกษตร
                                                    ั
                                 ื่
                         1.2.3 เพอจัดท าแนวทางการพฒนา และปรับปรุงรูปแบบการบริหารจัดการโซ่ความเย็น (Cold
                                 ื
                  Chain) ในสินค้าพชผักและผลไม้ของสถาบันเกษตรกรที่มีความเชื่อมโยงระบบการจัดการของผู้ประกอบการ
                  ตั้งแต่ระบบการจัดการฟาร์มจนถึงส่งมอบสินค้า


                  1.3 ขอบเขตการด าเนินงาน
                        1.3.1 กลุ่มเป้าหมาย สถาบันเกษตรกรที่ท าธุรกิจรวบรวมและกระจายสินค้าเกษตร ประเภทผักและ

                  ผลไม้ และผู้ประกอบการ/โรงงานแปรรูป สมาคมและสมาพันธ์ที่ด าเนินธุรกิจการค้าพืชผักและผลไม้

                        1.3.2 พื้นที่ด าเนินการ จังหวัดที่เป็นแหล่งที่ตั้ง/ศูนย์กลางการผลิต รวบรวม แปรรูป และส่งออกพืชผักและ
                  ผลไม้ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร และภาคตะวันออก 5 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา จันทบุรี และตราด

                        1.3.3 สินค้าเกษตรเป้าหมาย แบ่งเป็น กลุ่มผลไม้ 6 ชนิด ได้แก่ ทุเรียน มังคุด เงาะ มะม่วง ขนุน และสับปะรด

                  กลุ่มผัก 6 ชนิด ได้แก่ ผักบริโภคใบ 5 ชนิด (คะน้า กวางตุ้ง ผักชี กะเพรา และผักบุ้งจีน) และเห็ด 1 ชนิด (เห็ดฟาง)









                  ึ
                                                                                                              ้
            โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
                                                                    ิ
                                                                      ้
                                                                                ้
                                                                                               ื
                                           ิ
                                                   ่
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14