Page 8 - e-Book Cold Chain
P. 8

1



                                                            บทที่ 1

                                                            บทน า


                  1.1 ที่มาและความส าคัญ
                               ภาคการผลิตและการส่งออกสินค้าเกษตรไทยมีความส าคัญต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ

                  ประเทศ โดยข้อมูลของส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรระบุว่า ในปี 2561 ประเทศไทยมีผลิตภัณฑ์มวลรวม

                  ในประเทศ (Gross Domestic Product : GDP) ภาคการเกษตร จ านวน 1,324,369 ล้านบาท และมีมูลค่า
                                                 ์
                  การส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑที่ส าคัญ จ านวน 1,388,541 ล้านบาท
                                  การประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2559 มีมติเห็นชอบหลักการโครงการพัฒนาระเบียง
                                                                                   ิ
                  เศรษฐกิจภาคตะวันออกและมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี (นายสมคิด จาตุศรีพทักษ์) ร่วมกับกระทรวงคมนาคม
                                                    ิ
                  กองทัพเรือ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพจารณาจัดท าแผนการด าเนินโครงการ โดยมอบหมายให้ส านักงาน
                                                                                                           ื่
                  สภาพฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ประสานและบูรณาการข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพอ
                       ั
                                                                                                        ื้
                                ั
                                                                                                  ั
                  จัดท าแผนงานพฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (พ.ศ. 2560 – 2564)  โดยมีแนวทางการพฒนาพนที่ 3
                  จังหวัดภาคตะวันออก ได้แก่ จังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา โดยก าหนดให้การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
                                                                                ี
                       ุ
                  เป็นอตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ (First S-curve) ซึ่งจะท าให้ในอนาคตจะมการขยายตัวในการพัฒนาโครงสร้าง
                                                                                    ุ
                  พื้นฐาน การลงทุนจากต่างประเทศ การท่องเที่ยว การขนส่งและโลจิสติกส์ รวมถึงอตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร
                                                                ื้
                                  ิ่
                  ที่จะส่งผลให้มีการเพมอุปสงค์ในการขนส่งสินค้าที่ผลิตในพนที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินค้าเกษตรและอาหาร
                                                                                                 ื่
                                   การบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ของพชผลทางการเกษตรมีความยุ่งยากกว่าสินค้าอน ๆ เนื่องจาก
                                                             ื
                                                                                        ื
                  ธรรมชาติของผลผลิตทางการเกษตรส่วนใหญ่เป็นผลผลิตที่ออกเป็นฤดูกาล โดยเฉพาะพชผักและผลไม้ เมื่อผลผลิต
                                  ั
                                          ุ
                  ออกสู่ตลาดพร้อมกน ท าให้อปทานล้นตลาด อกทั้งผลผลิตทางการเกษตรเป็นของสด เน่าเสียง่าย จึงจ าเป็นต้อง
                                                        ี
                  อาศัยระบบโลจิสติกส์ที่มีคุณภาพสูง ในการเคลื่อนย้าย จัดเก็บ รวบรวมและกระจายผลผลิต ตลอดจนรักษา
                  มาตรฐานด้านความสะอาดของผลผลิต ดังนั้น การบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์สินค้าเกษตรโดยใช้ระบบโซ่ความ

                  เย็น (Cold Chain) จึงมีความส าคัญ เนื่องจากเป็นโซ่อปทานที่มีการควบคุมหรือเลือกใช้สภาวะอณหภูมิ ความชื้น
                                                             ุ
                                                                                               ุ
                  สัมพัทธ์ บรรยากาศ สภาพแวดล้อม วิธีการบรรจุหรือบรรจุภัณฑ์ทเหมาะสมกับผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์แต่ละประเภท
                                                                      ี่
                  ตลอดทั้งโซ่อปทาน ทั้งจากการเก็บเกี่ยว เก็บรักษา แปรรูป บรรจุ ขนส่ง และกระจายสินค้า รวมถึงการบริหาร
                             ุ
                                         ุ
                                                                                                            ื่
                  จัดการเวลาด าเนินงานในโซ่อปทานให้สั้นที่สุด จะสามารถยืดอายุการเก็บรักษาและรักษาคุณภาพของสินค้าได้ เพอ
                  ช่วยลดระยะเวลาการขนส่ง ลดการสูญเสียระหว่างเส้นทางจากแปลงปลูกสู่ปลายทาง จนถึงมือผู้บริโภคหรือเข้าสู่

                  กระบวนการแปรรูป ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

                             รูปแบบการบริหารจัดการผลผลิตเพอยืดอายุมิให้เน่าเสียเร็วเกินไปเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรส่วน
                                                        ื่
                                                  ื้
                  ใหญ่ใช้วัสดุอปกรณ์อย่างง่ายที่หาได้ในพนที่ เพื่อลดอณหภูมิของผลผลิตไม่ให้ร้อนเกินไปเท่านั้น เช่น การใช้น้ าแข็ง
                            ุ
                                                            ุ
                  การใช้กล่องโฟม หรือการใช้ผ้ากระสอบที่มีความชื้นคลุมผลผลิต ฯลฯ ซึ่งรูปแบบเหล่านี้ สามารถลดการเน่าเสียของ
                  ผลผลิตได้ในระดับหนึ่ง แต่หากมีการน าระบบโซ่ความเย็น (Cold Chain) มาใช้อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในสถาบัน

                  เกษตรกร ซึ่งถือเป็นกลไกหลักในการรวบรวมและกระจายสินค้าเกษตรไปยังเครือข่ายผู้ประกอบการ/โรงงานแปรรูป






                                                                                                              ้
            โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
                                                                    ิ
                                           ิ
                                                   ่
                  ึ
                                                                                               ื
                                                                                ้
                                                                      ้
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13