Page 12 - e-Book Cold Chain
P. 12

5



                                ื่
                                                ู
                  ติดกับประเทศเพอนบ้าน ได้แก่ กัมพชา  ดังนั้น จึงมีการกระจายสินค้าผ่านด่านถาวรและจุดผ่อนปรนซึ่งอยู่ใน
                  จังหวัดจันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี และสระแก้ว ส่วนการกระจายไปต่างประเทศโดยเฉพาะสาธารณรัฐประชาชน
                  จีน สามารถกระจายได้ทั้งทางบก ทางเรือ และทางอากาศ แต่ส่วนใหญ่ผู้ส่งออกจะกระจายโดยทางเรือไปขึ้นที่
                   ่
                  ฮองกง นอกจากนี้ ยังสามารถกระจายทางแม่น้ าโขงที่อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เข้าสู่จีนที่ท่าเรือจิ่งหง

                  เมืองสิบสองปันนา

                               อนุสรา อติโรจนสกุล (2553) ศึกษาเรื่องการเพมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสินค้า
                                                                         ิ่
                                                                                          ื่
                                                                                                           ิ่
                  ต่อธุรกิจห้องเย็น กรณีศึกษา : ห้องเย็น A.Y. Cold Storage โดยมีวัตถุประสงค์เพอหาแนวทางการเพม
                  ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสินค้าต่อธุรกิจห้องเย็น โดยการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหาร
                  และพนักงานที่เกี่ยวข้องในองค์กร ผลการศึกษาพบว่า ปัญหาด้านการจัดการสินค้า ได้แก่ การขาดการวางแผน

                   ื้
                  พนที่การจัดเก็บสินค้า ท าให้หาสินค้าไม่เจอ ไม่มีระบบบ่งชี้ต าแหน่งสินค้า สินค้าแต่ละชนิดจัดเก็บปะปนกันใน
                  คลังสินค้า ส่งผลให้การค้นหาสินค้าล่าช้า สินค้าเกิดความเสียหายในระหว่างการจัดเก็บ ไม่สามารถรองรับความ

                                                                                            ั
                  ต้องการฝากสินค้าล่วงหน้าได้ ไม่ทราบปริมาณสินค้าคงเหลือภายในห้องเย็น การค านวณอตราค่าฝากสินค้าไม่
                  ถูกต้อง ในส่วนแนวทางการแก้ไข โดยเริ่มจากการวิเคราะห์อตราหมุนเวียนของสินค้าแต่ละประเภท เพอใช้
                                                                                                         ื่
                                                                     ั
                  ประกอบการวางแผนพนที่ต าแหน่งจัดเก็บ ซึ่งจากการวิเคราะห์ปัญหาการขาดประสิทธิภาพในการจัดเก็บ
                                      ื้
                                                              ื้
                  ท าให้เกิดแนวทางการแก้ปัญหาโดย วางแผนการจัดพนที่ใหม่ (ออกแบบ Lay Out) พัฒนาระบบบ่งชี้ต าแหน่ง
                  การจัดเก็บสินค้าโดยจัดท าแบบฟอร์มในการบันทึกข้อมูล ก าหนดวิธีการด าเนินงานมาตรฐาน (Work
                                           ั้
                  Procedure) ที่เหมาะสม อีกทงวิเคราะห์วิธีการคิดต้นทุนแบบฐานกิจกรรม

                               องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization
                  of the United Nation หรือ FAO) (2011) รายงานว่า ทั่วโลกมีการสูญเสียอาหารและการทิ้งอาหาร

                               ั
                  ประมาณ 13 พนล้านตันทุกปี หรือคิดเป็น 1 ใน 3 ของปริมาณอาหารที่ผลิตเพอการบริโภคของมนุษย์ โดยมี
                                                                                    ื่
                                                                      ื
                                                                                                      ื
                   ั
                  อตราการสูญเสีย (น้ าหนัก) ของผักและผลไม้ ร้อยละ 45 ธัญพช ร้อยละ 30 พืชหัว ร้อยละ 45 เมล็ดพชน้ ามัน
                  ร้อยละ 20 เนื้อสัตว์ ร้อยละ 20 ปลาและอาหารทะเล ร้อยละ 25 นม ร้อยละ 20 โดยในกลุ่มประเทศเอเชียใต้
                  และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีสินค้าเน่าเสียง่ายที่มีอัตราการสูญเสียระหว่างกระบวนการผลิต ดังนี้

                                                              ั
                                         ื
                                   1) กลุ่มพชผักและผลไม้ ได้แก่ อตราการสูญเสียระหว่างการเพาะปลูก ร้อยละ 15
                  การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการจัดเก็บ ร้อยละ 9 การแปรรูปและการบรรจุ ร้อยละ 25 การกระจายสินค้า
                  ร้อยละ 10 และการบริโภค ร้อยละ 7


                                   2) กลุ่มเนื้อสัตว์ ได้แก่ อตราการสูญเสียระหว่างการเพาะเลี้ยง ร้อยละ 5.1 การจัดการ
                                                      ั
                  หลังฆ่าสัตว์และการจัดเก็บ ร้อยละ 0.3 การแปรรูปและการบรรจุ ร้อยละ 5 การกระจายสินค้า ร้อยละ 7 และ

                  การบริโภค ร้อยละ 4

                                      3) กลุ่มปลาและอาหารทะเล ได้แก่ อตราการสูญเสียระหว่างการเพาะเลี้ยงและการจับ
                                                                 ั
                  ร้อยละ 8.2 การจัดการหลังการจับและการจัดเก็บ ร้อยละ 6 การแปรรูปและการบรรจุ ร้อยละ 9 การกระจาย
                  สินค้าร้อยละ 15 และการบริโภค ร้อยละ 2






                  ึ
                                                                                                              ้
            โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
                                           ิ
                                                   ่
                                                                                ้
                                                                      ้
                                                                                               ื
                                                                    ิ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17