Page 13 - e-Book Cold Chain
P. 13
6
ั
4) กลุ่มนม ได้แก่ อตราการสูญเสียระหว่างการเพาะเลี้ยง ร้อยละ 3.5 การจัดการหลังการจับ
และการจัดเก็บ ร้อยละ 6 การแปรรูปและการบรรจุ ร้อยละ 2 การกระจายสินค้า ร้อยละ 10 และการบริโภค
ร้อยละ 1
Sivakumar D. et al. (2011) ศึกษาเรื่องการรักษาคุณภาพมะม่วงตลอดโซ่การส่งออก
โดยน าเสนอแนวทางในการจัดการคุณภาพมะม่วงเพอการส่งออกด้วยระบบโซ่ความเย็น ในกระบวนการต่างๆ
ื่
ได้แก่ การเก็บเกี่ยว และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ซึ่งระบบโซ่ความเย็นถือเป็นเครื่องมือในการจัดการ
ุ
คุณภาพผลผลิตตลอดโซ่อปทานการส่งออกมะม่วง เนื่องจากโซ่ความเย็นจะป้องกันการเสื่อมคุณภาพของ
ผลผลิตจากการสุก ทั้งนี้ การจัดการคุณภาพผลผลิตเริ่มต้นตั้งแต่การเก็บเกี่ยวโดยเกษตรกรจะต้องเก็บเกี่ยว
เมื่อมะม่วงมีอายุเหมาะสม ความแน่นของเนื้อสัมผัสได้มาตรฐาน และการจัดการโซ่ความเย็น ด้วยการเก็บเกี่ยว
ในระหว่างเวลาที่อุณหภูมิไม่สูง เนื่องจากอุณหภูมิสูงจะท าให้ผลผลิตมีความร้อนและจะต้องใช้เวลานานในการรอ
ให้ผลผลิตคายความร้อน หลังจากนั้นจะเข้าสู่กระบวนการหลังการเก็บเกี่ยวที่จะมีการควบคุมคุณภาพโดยการ
ุ
อบไอน้ าประมาณ 10 นาที อณหภูมิอยู่ระหว่าง 52-55 องศาเซลเซียส เพอป้องกันเชื้อราและแมลงต่างๆ
ื่
ซึ่งภายหลังการอบไอน้ าจะท าการลดอณหภูมิทันทีด้วยน้ าหรือวิธี Hydro Cooling ที่อณหภูมิประมาณ 13
ุ
ุ
ุ
องศาเซลเซียส หลังจากนั้นจะเข้าสู่กระบวนการบ่มสุกและขนส่ง โดยในการขนส่งจะมีการควบคุมอณหภูมิ
ระหว่าง 8-13 องศาเซลเซียส หากใช้อุณหภูมิต่ าเกินไปจะท าให้ผลผลิตช้ าได้ เมื่อขนส่งไปวางยังชั้นจ าหน่ายใน
ร้านขายปลีก จะก าหนดอุณหภูมิระหว่าง 8-14 องศาเซลเซียส
่
นอกจากนี้ งานศึกษานี้ยังชี้ให้เห็นว่า ปัจจัยส าคัญที่ส่งผลต่อคุณภาพผลผลิตมะม่วง ได้แก การ
เก็บเกี่ยว การลดอุณหภูมิภายหลังการอบไอน้ า การบรรจุภัณฑ์ อุณหภูมิที่ใช้ในการจัดเก็บ/ระหว่างขนส่งดังนั้น
ในการจัดการโซ่อุปทานส่งออกมะม่วงจ าเป็นต้องค านึงถงเรื่องการเสื่อมคุณภาพของผลผลิต
ึ
ดนุพล จิตต์มน และคณะ (2555) ศึกษาการประเมินความสูญเสียในกระบวนการจัดการ
ั่
สายโซ่อปทานคะน้าในจังหวัดเชียงใหม่ เพอเปรียบเทียบ 2 วิธีระหว่างการใช้สายโซ่ความเย็นกับไม่ใช้
ื่
ุ
สายโซ่ความเย็นในการขนส่งโดยมีจุดประสงค์ คือ วิเคราะห์หาการเสียหายของผลผลิตและหาวิธีการ
ที่เหมาะสมเพื่อลดการเสียหาย ท าการศึกษาวิจัยในตลอดสายโซ่อปทานทั้งหมด 4 เที่ยว ในแต่ละเที่ยวของการ
ุ
ทดลองจะขนส่งผลิตผลของเกษตรกร 3 ราย โดยใช้ปริมาณผลิตผลเริ่มต้น 20 กิโลกรัมต่อเกษตรกรหนึ่งราย
จากผลการวิจัยพบว่า การสูญเสียหลักเกิดจากการหักและการช้ าที่เกิดขึ้นระหว่างโรงคัดบรรจุ
และระหว่างการขนส่ง ส่วนการสูญเสียที่รองลงมาคือ การสูญเสียจากลมและความร้อนจากการขนส่ง
แบบไม่ใช้สายโซ่อปทานความเย็นจากการเปรียบเทียบระหว่างทั้งสองวิธี การขนส่งแบบใช้สายโซ่ความเย็น
ุ
สามารถลดการสูญเสียน้ าหนักได้ประมาณร้อยละ 45 การจัดการที่เหมาะสมสามารถลดการสูญเสีย
ุ
จากการหักและการช้ าได้ ส่วนการใช้อณหภูมิต่ าก็สามารถลดการเหี่ยวได้ ซึ่งเป็นการสูญเสียหลักระหว่างการ
ขนส่ง เป็นผลท าให้ลดการหักช้ าลง ร้อยละ 15 และจากการเหี่ยวร้อยละ 26 ดังนั้น การจัดการผลผลิต เช่น
การคัดแยกและตัดแต่งต้นในการขนส่งโดยใช้สายโซ่ความเย็น สามารถลดปัญหาน้ าหนักผลผลิตลดลง และการ
แพร่การกระจายของแมลงที่เกิดขึ้นทั่วไปในกระบวนการขนส่งแบบเดิมได้
้
ื
ิ
ึ
โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
่
้
้
ิ