Page 85 - Sutthikan
P. 85

78










                2. เน้นการป้ องกันในการเกิดโรคอ้วนที่ยากต่อการเยียวยาโปรแกรมลดน ้าหนักที่

        ประสบความส าเร็จได้นั้นน ้าหนักตัวจะต้องให้อยู่ในระหว่างที่คงที่ต่อเนื่องกัน 3-5 ป ี

                3. น ้าหนักที่ลดลงจะเกิดการลดน ้าหนักของไขมันที่สะสมไม่ใช่มวลกล้ามเนื้อ

        น ้าหนักที่ลดลงในช่วงแรกอาจเกิดจากการสูญเสียของเหลวในร่างกายเช่นน ้าในร่างกาย

        และรวมทั้งสารไกลโคเจนในตับและในกล้ามเนื้อ

                การลดน ้าหนักที่ปลอดภัยที่สุดควรลดลงช้าช้าประมาณ 0.5 กิโลกรัมหรือน้อยกว่า

        นี้ /สัปดาห์จะไม่มีผลกระทบต่อความสามารถทางร่างกายในการปฏิบัติกิจกรรมหาก

        สามารถลดน ้าหนักลงได้ประมาณ 0.5 กิโลกรัม / สัปดาห์ จะมีผลท าให้สามารถลดปริมาณ
        ไขมันที่สะสมได้ 24 กิโลกรัมหรือ 52 ปอนด์ภายในเวลา 1 ป ี




            5. การบริโภคอาหารที่ดีเพื่อการควบคุมน ้าหนัก



                อาหารในปัจจุบันมีอยู่มากมายหลายชนิดทั้งที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายโดยทางตรง
        และทางอ้อมหากมีการบริโภคไม่ถูกต้องมากหรือน้อยเกินไปบริโภคไม่ถูกสุขลักษณะไม่

        ครบถ้วนของสารอาหารตามที่ร่างกายต้องการในแต่ละวันแล้วก็อาจจะท าให้เกิดผลเสียที่

        ตามมาได้ท าให้สุขภาพร่างกายไม่ดีอาจเกิดโรคหรือความผิดปกติของร่างกายภายหลังได้

        ดังนั้นการระมัดระวังในการเลือกบริโภคอาหารจึงมีความส าคัญและจ าเป็นต่อคนเราใน
        สังคมปัจจุบันนี้


                1. กินอาหารที่มีความหลากหลายควรกินผักผลไม้สดทุกวันกินอาหารที่มีส่วนผสม
        ของพืชสูงบริโภคนม เนยแข็ง หรือโยเกิร์ตและบริโภคเนื้อไม่ติดมัน เนื้อสัตว์ปีก ปลาและ

        ไข่

                2. ควบคุมน ้าหนักร่างกายให้พร้อมเบาะเพิ่มการออกก าลังกาย / กิจกรรมทาง

        ร่างกายลดสัดส่วนร่างกายที่เป็นส่วนเกินหลีกเลี่ยงความคิด "เอาไว้ทีหลัง" หรือ " ไม่มี

        เวลา" กินช้าๆ ลดอาหารประเภทไขมัน บริโภคให้น้อย ลงลดน ้าตาล และของหวาน และ

        ลดการดื่มเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90