Page 14 - Connect with respect: preventing gender-based violence in schools; classroom programme for students in early secondary school (ages 11-14); 2016
P. 14

ครูควรท�าอย่างไรในการเสริมสร้างสัมพันธภาพเชิงบวกกับลูกศิษย์?

                           มีงำนศึกษำวิจัยหลำยฉบับที่ได้สอบถำมนักเรียนโดยตรงว่ำ ครูที่มีประสิทธิภำพควรท�ำอย่ำงไรเพื่อสร้ำงสัมพันธภำพเชิงบวกกับนักเรียน [18, 30-33]

                           นักเรียนส่วนใหญ่ตอบว่ำครูท่มีประสิทธิภำพคือครูท่ท�ำอะไรก็เป็นระเบียบเรียบร้อย มีขอบเขตชัดเจน สนใจฟังเด็กในช้น และต้งใจท�ำหน้ำท่กำรงำน ตลอดจนเป็นผู้ให้โครงสร้ำง ออกค�ำส่ง
                                                                                                                                                            ั
                                                                                                                           ี
                                               ี
                                                              ี
                                                                                                             ั
                                                                                                                   ั
                           วำงระเบียบ ขณะเดียวกันก็มีควำมท้ำทำยให้ด้วย แต่ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคลก็ส�ำคัญเช่นกัน เพรำะรูปแบบควำมสัมพันธ์ของครูสำมำรถสร้ำงควำมแตกต่ำงด้ำนควำมขยันหม่นเพียร
                                                                                                                                                        ั
                           ควำมผูกพัน และกำรรับรู้คุณค่ำแห่งตนให้เกิดขึ้นกับลูกศิษย์ได้อย่ำงมำก ทั้งนี้ นักเรียนตอบว่ำตนจะรู้สึกมีก�ำลังใจและอยำกพยำยำมให้หนักขึ้น หำกครูมีพฤติกรรมดังต่อไปนี้
                              • ยิ้มแย้มแจ่มใสและทักทำยนักเรียน
                              • แสดงควำมภำคภูมิใจในตัวลูกศิษย์
                              • ให้ควำมสนใจกับสิ่งที่นักเรียนท�ำ
                              • ฟังนักเรียนอย่ำงตั้งใจ
          ค�าถาม              • ให้กำรสนับสนุน ให้ควำมหวังและก�ำลังใจเมื่อเด็กก้ำวหน้ำหรือพัฒนำขึ้น
         ชวนย้อนคิด           • ปฏิบัติต่อเด็กนักเรียนด้วยกำรยอมรับและเอำใจใส่
                              • หลีกเลี่ยงรูปแบบที่รุนแรงหรือกำรลงโทษส�ำหรับแนวทำงกำรบริหำรจัดกำรนักเรียน
       ท่ำนปฏิบัติพฤติกรรมใด  • อธิบำยสิ่งต่ำงๆ อย่ำงชัดเจน ให้ข้อเสนอแนะและยื่นมือเข้ำช่วยเหลือเมื่อจ�ำเป็น
       เป็นประจ�ำอยู่แล้วบ้ำง?   • พยำยำมเข้ำใจภูมิหลังทำงวัฒนธรรมของลูกศิษย์ ตลอดจนควำมสนใจของเด็กแต่ละคน
       พฤติกรรมใดบ้ำง
                                                                                                                 ื
                                                            ั
                                                                                                                                                    ื
                                                                                                ั
       ที่ท่ำนต้องกำรน�ำไป  เด็กส่วนใหญ่จะรู้สึกพอใจมำกหำกครูมีควำมม่นคงและยุติธรรม [18, 29] จัดกำรพฤติกรรมในช้นเรียนด้วยวิธีเชิงบวกเพ่อให้กำรเรียนกำรสอนด�ำเนินต่อไปได้อย่ำงรำบร่น [27, 34]
       ปฏิบัติหรือปฏิบัติ   แนวปฏิบัติหน่งท่ควรใช้ในกำรอบรมส่งสอนศิษย์ด้วยวิธีท่เคำรพใส่ใจซ่งกันและกันคือ กำรสร้ำงวินัยเชิงบวกหรือกำรจัดกำรพฤติกรรมเชิงบวก ซ่งกำรสร้ำงวินัยเชิงบวกจะมุ่งเน้นเสริมสร้ำง
                                                                                                                               ึ
                                                     ั
                                                                  ี
                                       ี
                                                                           ึ
                                     ึ
       ให้บ่อยขึ้น?        พฤติกรรมด้ำนบวก โดยส่งเสริมศักยภำพของเด็กให้รู้จักรับผิดชอบต่อพฤติกรรมของตนเอง แทนที่จะควบคุมควำมประพฤติด้วยกำรท�ำให้เด็กกลัว ครูควรใช้กำรสร้ำงวินัยเชิงบวกด้วย
                           วิธีต่อไปนี้
                              • อบรมสั่งสอนเด็กเรื่องสิทธิ หน้ำที่ กฎระเบียบ และมำตรฐำน
                              • สอนเด็กให้รู้จักวิธีควบคุมและจัดกำรอำรมณ์ของตนเอง โดยปลูกฝังทักษะชีวิตและทักษะสังคม เช่น กำรเคำรพให้เกียรติผู้อื่น กำรให้ควำมร่วมมือ กำรสื่อสำร และกระบวนกำร
                               แก้ปัญหำ
                              • ส่งเสริมให้เด็กสร้ำงกำรตระหนักรู้เรื่องผลของพฤติกรรมเชิงบวกและลบของตนเองต่อผู้อื่น
                              • สร้ำงแรงบันดำลใจให้เด็กมีควำมปรำรถนำที่จะเป็นคนเกรงใจและเคำรพใส่ใจผู้อื่น
                              • พัฒนำเด็กให้รู้และเข้ำใจว่ำกฎระเบียบและควำมคำดหวังเป็นกลไกที่ท�ำหน้ำที่ปกป้องสิทธิและควำมต้องกำรของผู้คนได้อย่ำงไร


                                                       ื
                           นอกจำกน้ ครูยังเป็นตัวอย่ำงแก่ศิษย์เร่องควำมเสมอภำคทำงเพศภำวะได้จำกวิธีกำรสอนของตนเอง ยกตัวอย่ำงเช่น กำรสนใจลูกศิษย์ทุกคนเท่ำๆ กัน ให้ควำมส�ำคัญกับเด็กทุกคน
                                  ี
                           โดยถ้วนหน้ำ โดยไม่ค�ำนึงถึงเพศภำวะ และพยำยำมเล่ยงหรือไม่ส่งเสริมภำพเหมำรวมทำงเพศภำวะด้วยวิธีกำรใดๆ ก็ตำม ท้งในกำรปฏิบัติต่อเด็กนักเรียนและในขณะจัดกำรเรียน
                                                                   ี
                                                                                                                      ั
                           กำรสอนเนื้อหำสำระที่ตนรับผิดชอบ





         10
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19