Page 91 - Connect with respect: preventing gender-based violence in schools; classroom programme for students in early secondary school (ages 11-14); 2016
P. 91
เอกสารเสริม
ส่วนที่
กิจกรรมที่ 2: ความรุนแรงจากเพศภาวะคืออะไร? 2
สร้ำงสถำนกำรณ์ของกลุ่ม
หัวข้อท 3
ี
่
ค�าถามเพื่อการอภิปราย:
• ควำมรุนแรงจำกเพศภำวะในสถำนกำรณ์นี้เป็นควำมรุนแรงประเภทใด? (ทำงร่ำงกำย ทำงวำจำ ทำงจิตใจ ทำงเพศ)
• สถำนกำรณ์นี้อำจส่งผลกระทบต่อผู้เผชิญเหตุกำรณ์ควำมรุนแรงอย่ำงไรบ้ำง?
• ต้องมีกำรเปลี่ยนแปลงอะไรบ้ำงเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุกำรณ์เช่นนี้?
• จ�ำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงอะไรบ้ำงเพื่อด�ำเนินกำรตอบสนองอย่ำงมีประสิทธิภำพ ถ้ำเหตุกำรณ์เช่นนี้เกิดขึ้นจริง?
จุดเน้นส�าหรับครูผู้สอน:
ครูสำมำรถย�้ำเตือนนักเรียนถึงวิธีกำรรักษำควำมเป็นส่วนตัวได้ โดยอำจกล่ำวว่ำ “กำรไปเที่ยวเล่ำเรื่องคนอื่นว่ำใครเคยท�ำอะไรมำแล้วบ้ำงนั้น มันง่ำยก็จริง แต่วิธีแบบนี้ จะท�ำให้
เรำเถียงกัน ด่ำว่ำกัน โทษกันไปโทษกันมำ เพรำะฉะนั้น เรำจะใช้สถำนกำรณ์สมมติเป็นต้นเรื่องของกำรพูดคุยแลกเปลี่ยนควำมเห็นกัน อีกอย่ำงหนึ่งที่เรำต้องพูดถึงก็คือ เรำควรท�ำ
อย่ำงไรให้สถำนกำรณ์ถูกต้องเหมำะสมดีขึ้นในอนำคต เวลำเขียนงำนส่งครูก็เหมือนกัน ถ้ำเรำเล่ำเรื่องประสบกำรณ์ของใครบำงคน นักเรียนก็ต้องรู้จักเคำรพควำมเป็นส่วนตัวของ
เขำด้วย นั่นคือ เรำจะต้องไม่ใช้ชื่อจริง ไม่ใช้ข้อมูลจริง ที่พอมีคนมำอ่ำนแล้วทรำบทันทีว่ำเป็นเรื่องของใคร นักเรียนจ�ำไว้นะ นี่คือวิธีกำรหนึ่งที่เรำจะแสดงว่ำเรำเคำรพเอำใจใส่กัน
และกัน ช่วยเหลือพึ่งพำกันและกันจนประสบควำมส�ำเร็จในกำรเรียนด้วยดีไปพร้อมหน้ำพร้อมตำกัน”
คู่มือการจัดหลักสูตรแบบหน่วยการเรียนรู้ 87