Page 35 - นางสาวธนวรรณ ติรเมธา
P. 35
ิ
ื
ิ
ึ
ี
์
่
ี
ู
ี
หอบลก มกล่นอะซโตน ระดับน ้าตาลในเลอดจะสงมากกว่า 250 mg/dl มโซเดยมไบคารบอเนตต ากว่า 15
ี
ี
ั
ี
ี
ื
ี
่
้
ั
mEq/L และมสารคโตนในปสสาวะ มคลนไส อาเจยน อ่อนเพลย ปสสาวะมาก กระหายน ้า ผิวหนังแห้ง
ิ
ั
ปสสาวะมากข้นเกิดการขาดน ้าถ้าไม่ได้รบการแก้ไขผู้ปวยจะ ซม สับสน หมดสตลงและอาจจะเสยชวิตได้
ี
ี
่
ึ
ึ
ั
1.2.2 ภาวะน ้าตาลในเลอดสงโดยไม่มกรด (Hyperglycemic Hyperosmolar Non-Ketotic
ี
ู
ื
ิ
่
Coma:HHNC) มักพบในผู้ปวยชนดไม่พึงอนซลน ร่างกายยังคงมอนซลนพอ ไม่เกิดการสลายของไขมัน
่
ิ
ิ
ู
ิ
ี
ิ
ู
ื
์
ึ
จนถงขั้นภาวะกรดในเลอดสง แต่มอนซลนไม่เพียงพอในการเผาผลาญคารโบไฮเดรต ท าให้มน ้าตาลใน
ู
ิ
ี
ู
ิ
ี
ี
ู
ี
ี
ู
้
ึ
ึ
ื
ึ
เลอดสงมาก มอาการซม สับสน ไม่รสกตัวและมอาการขาดน ้าอย่างมาก เช่นผิวหนังแห้ง ตาลก ไม่มอาการ
ื
ื
คลนไสอาเจยนเหมอนภาวะกรดในเลอดสง แต่อาจพบน ้าตาลในเลอดสงกว่า 400 mg/dl และมออสโมลาลต ี
ู
ิ
ี
ู
ื
ื่
ี
้
ู
ิ
ิ
ในพลาสมาสงกว่า 315 มลลออสโม
ั
้
้
2. ภาวะแทรกซอนแบบเรอรง ได้แก่
ื
2.1 ระบบประสาท (Diabetic neuropathy) จะพบว่ามการเสอมของเสนประสาทรบความรสก
่
ี
้
ู
้
ั
ื
ึ
้
ี
่
ี
่
ุ
เนองจากการท าลาย Axon ของเยือห้มเสนประสาทและมการเปลยนแปลงของเซลล์ประสาท ท าให้มการคั่ง
ื่
ี
่
ื
ื
ุ
ุ
ิ
์
ของซอรบทอล (Sorbital) และฟรกโตส เกิดเซลล์ประสาทเสอมสภาพ เกิดการอดตันของหลอดเลอดเล็ก ๆ
ี
ี
ิ
ื
ี
ท าให้ขาดออกซเจนและมการส่งสัญญาณเข้าออกช้า ได้แก่ เสนประสาททไปเล้ยงกล้ามเน้อเท้า
้
่
่
่
ี
ื
ิ
่
ิ
ื
ี
่
เสนประสาทอัตโนมัตทไปเล้ยงต่อมเหงอและหลอดเลอดบรเวณเท้า อาการทพบคอ การชาทปลายเท้าทั้ง
ื
ี
้
ี
ุ
่
ี
ื
ู
สองข้าง ปวดแสบปวดรอน กล้ามเน้ออ่อนแรง การสญเสยการควบคมการท างานของกล้ามเน้อทต้องใช้ใน
ี
ื
้
้
ี
ุ
่
ี
ี
การท างานอย่างละเอยด นอกจากน้จะพบพยาธสภาพทเสนประสาทในส่วนของการควบคมภายในร่างกาย
ิ
ิ
ั
่
โดยจะพบว่ามอาการท้องเดน การควบคมการท างานของต่อมเหงอผิดปกต ท้องผูก ปสสาวะค้างในกระเพาะ
ิ
ี
ุ
ื
ั
ี
ปสสาวะหลังการถ่ายปสสาวะ และมความผิดปกตของระบบสบพันธ ุ ์
ิ
ื
ั
2.2 ภาวะแทรกซ้อนทางตา (Diabetic retinopathy) จะพบว่ามหลอดเลอดทจอตาเสอม เนองจาก
ื่
ี
ี่
ื
ื่
ี
ื
ี
่
การเปลยนแปลงของหลอดเลอดทจอตา ชักน าให้เกิดตาบอดในผู้ปวยผู้ใหญ่ นอกจากน้ยังมเลนสตาขุ่นเปน
่
ี
่
์
ี
็
็
็
ิ
ต้อกระจก ในบางรายอาจเปนต้อหน ตาพร่ามัว มองไม่เหน
่
ื
ื
ี
ิ
2.3 ระบบหัวใจและหลอดเลอด จากความผิดปกตของหลอดเลอดใหญ่และขนาดเล็กทท าให้
ี
ึ
ื
ื
่
้
ุ
หลอดเลอดเกิดการอดตัน โปงพองหรอสรางหลอดเลอดทไม่แข็งแรงข้นมาใหม่ จงมส่วนส าคัญในการท า
ึ
ื
ี
่
ี
่
ิ
ื
ื
ึ
ู
ให้เกิดโรคของหลอดเลอดได้แก่ ความดันโลหตสงข้น หลอดเลอดหัวใจตบตัน หลอดเลอดทไตผิดปกต ิ
ื
ี
ิ
ี
่
ิ
ึ
และหลอดเลอดสมองผิดปกตโดยผู้ปวยเบาหวานมโอกาสเกิดโรคหลอดเลอดหัวใจมากกว่าคนปกตถง 2 เท่า
ื
ื
ี
ึ
ื
และเกิดโรคหลอดเลอดสมองมากกว่าคนปกตถง 3 เท่า นอกจากน้ยังพบว่าความหนดของเลอดเพิ่มข้น มการ
ิ
ึ
ี
ื
ื
ท างานของเกล็ดเลอดผิดปกตรวมทั้งมภาวะเปนลมเมอเปลยนท่าเรวๆ ได้ง่าย (Orthostatic hypotension)
่
็
ี
ิ
็
ี
่
ื
ื