Page 37 - Advande_Management_Ebook
P. 37

พลต�ารวจตรี ดร.สุพิศาล ภักดีนฤนาถ                               35



             ของที่ท�างานด้วย สภาพเหล่านี้ก็คือ อิทธิพลของกลุ่มไม่เป็นทางการ (Informal
             group) การยอมรับในฐานะของตัวบุคคล และการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ 2) ความ

             เข้าใจว่า คนจะมีพฤติกรรมเป็นไปตามเหตุผลเท่านั้น โดยข้อเท็จจริงที่เป็นความรู้ใหม่
             ก็คือ คนจะมีพฤติกรรมที่ไม่เป็นตามเหตุผล ก็คือ มีอารมณ์ มีความนึกคิด ความ
             ชอบพอ ตลอดจนความพอใจอื่นๆของตน รวมทั้งความอบอุ่นใจและความสนุกสนาน

             ในการท�างานด้วย (ปริญญา  โตโฉม. 2558 : ออนไลน์)
                    การจัดการเชิงพฤติกรรม (Behaviral Management) ทฤษฎีการจัดการ

             แนวนี้ได้มีการศึกษาในความคิดของมนุษย์ที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับองค์กรในฐานะของ
             แรงงาน พนักงาน ผู้ร่วมงานแนวคิดด้านมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) แนวคิด
             นี้มีผลมาจากแนวความคิดทางการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ที่คิดว่ามนุษย์ท�างาน

             เพื่อผลตอบแทน หรือความต้องการในด้านเศรษฐกิจ Elton Mayo เป็นนักสังคมวิทยา
             (ปี 1880–1949) ชาวออสเตรเลีย และเป็นศาสตราจารย์ด้านการวิจัยอุตสาหกรรม

             ของ Harvard University ได้ท�าการศึกษาวิจัย Howthorne study ซึ่งเป็นการศึกษา
             วิจัยเชิงทดลองในบริษัท Western Electric โดยทดลองตามสภาพแวดล้อมที่มีผลก
             ระทบต่อการท�างานของพนักงาน การศึกษาการจัดการเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behav-

             ioral management approach)
                    การจัดการเชิงปริมาณ (Quantitative Management) เป็นแนวคิดซึ่ง

             น�าเทคนิคทางคณิตศาสตร์เครื่องมือสถิติและข้อมูลเพื่อช่วยในการแก้ปัญหาของการ
             จัดการในปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ
             1) วิทยาการจัดการ (Management Science)  2) การจัดการปฏิบัติการ (Operation

             Management)  3) ระบบสารสนเทศการจัดการ (Management Information
             System:MIS) (ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. 2545 : 44-45) สอดคล้องกับ ชนงกรณ์

             กุณฑลบุตร (2557 : 24-25) กล่าวว่าเป็นวิธีการพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหาร
            งานและเพิ่มประสิทธิผลผลิตโดยการใช้ความรู้ในทางคณิตศาสตร์เชิงปริมาณ เพื่อ
            ให้การใช้ทรัพยากรขององค์การเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการเพิ่มผลผลิต ซึ่งมีลักษณะ

            คล้ายกับแนวทางของการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) มา
             ประยุกต์ ทั้งนี้ในระยะหลังการพัฒนาทางด้านคณิตศาสตร์ประยุกต์มีการแพร่หลาย

             มากขึ้น นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์หลายชนิด ที่ช่วยให้การประยุกต์
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42