Page 134 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 134
Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry
120 development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
ความชุกของโรค
มะเร็ง อุบัติการณ์การ อัตราการเสียชีวิต
ในช่วง 5 ปี
เม็ดเลือดขาวชนิด Multiple
1,251 1,105 2,728
myeloma
คอหอยหลังช่องปาก 886 435 2,560
คอหอยส่วนล่าง 794 428 1,168
องคชาต 643 252 1,801
ผิวหนังเมลาโนมา 536 290 1,525
ต่อมน ้าลาย 526 198 1,237
ทวารหนัก 327 166 809
ต่อมน ้าเหลืองชนิด Hodgkin 305 137 1,037
อัณฑะ 254 51 892
อวัยวะสืบพันธ์ภายนอกเพศหญิง 228 81 690
ช่องคลอด 130 66 343
คาโปซิซาร์โคมา 38 24 102
เยื่อหุ้มปอด 34 27 35
รวม 170,495 114,199 330,716
3. สถานการณ์อุตสาหกรรมยาโมโนโคลนอลแอนติบอดีของประเทศไทย
3.1 นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมยาโมโนโคลนอลแอนติบอดีของประเทศไทย
ั
การส่งเสริมงานวิจัยและพฒนาทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศไทยเริ่มขนตั้งแต่ปี 2526 โดยมี
ึ้
การจัดตั้งศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ศช. หรือไบโอเทค) ภายใต้ความดูแลรับผิดชอบ
ของส านักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงาน (ในขณะนั้น) ต่อมาได้มีการประกาศใช้
พระราชบัญญัติพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. 2534 ก าหนดให้รวมศูนย์พันธุวิศวกรรมและ
เทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติเป็นส่วนหนึ่งของส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ภายใต้การก ากับดูแลของกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม หลังจากนั้นได้มีการก่อตั้ง
หน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสนับสนุนและด าเนินงานด้านเทคโนโลยีชีวภาพอีกมากมาย
ในปี 2542 มหาวิทยาลัยในประเทศไทยได้รับเงินสนับสนุนจากโครงการเงินกู้ธนาคารเพื่อการพัฒนา
เอเชียในการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจ านวน 2,434 ล้านบาทโดยจัดตั้ง
ศูนย์เครือข่ายความเป็นเลิศที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีชีวภาพจ านวน 5 ศูนย์ ต่อมากระทรวงสาธารณสุขได้รับ