Page 46 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 46

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม                                                        | 29





                              1) การถ่ายทอดเทคโนโลยีจะเป็นการสร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้
                                 (Knowledge sharing)ระหว่างผู้รับและผู้ถ่ายทอดเทคโนโลยี และภายในองค์กรของ

                                 ผู้รับการถ่ายทอดในการเรียนรู้ร่วมกันเพอร่วมกันสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน
                                                                    ื่
                                 ส่งผลต่อการเพมศักยภาพก าลังคนภายในองค์กรผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีอย่าง
                                               ิ่
                                 ต่อเนื่อง และ ยั่งยืน

                                                                                     ั
                              2) การถ่ายทอดเทคโนโลยีในประเทศเกาหลีที่ถือเป็นประเทศที่พฒนาแล้ว มีปัจจัยส าคัญ
                                 คือ ทัศนคติและความตั้งใจต่อการถ่ายทอดและการรับเทคโนโลยีของผู้รับและผู้ถ่ายทอด

                                 เทคโนโลยี ซึ่งเป็นการมองหาพนธมิตรและการต่อยอดในการพฒนาทางวิทยาศาสตร์
                                                            ั
                                                                                       ั
                                                                                       ิ่
                                 และเทคโนโลยีร่วมกัน ซึ่งความร่วมมือดังกล่าวจะน าไปสู่การเพมศักยภาพในการเข้าสู่
                                 ตลาดและ/หรือ การคงส่วนแบ่งตลาดไว้ให้ได้




                       2.9   งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมยาของประเทศไทย

                                                     33
                              อรอมา โต๊ะยามา และคณะ  ได้ท าการศึกษารูปแบบ ช่องทาง ความสามารถในการรับการ
                                 ุ
                                                                                          ุ
                       ถ่ายทอดเทคโนโลยี ปัญหาและอุปสรรค และขีดความสามารถทางเทคโนโลยีของอตสาหกรรมยาแผน
                       ปัจจุบันในประเทศไทย โดยท าการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงสถานประกอบการด้านยาจ านวน 67 แห่ง

                       จาก 167 แห่ง พบว่ารูปแบบของการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่สถานประกอบการขนาดใหญ่และขนาด
                       กลางได้รับส่วนใหญ่ คือ การเข้าชมนิทรรศการ/การประชุมทางวิชาการ/งานแสดงสินค้าจากเอกสาร

                             ์
                                     ิ
                          ิ
                       สิ่งพมพและทางอนเทอร์เน็ต การให้ค าปรึกษาทางวิชาการผ่านการน าเข้าเครื่องมือเครื่องจักร รวมถึง
                       การท าสัญญาระหว่างผู้ให้/ผู้ขายกับบริษัท เช่นการได้รับใบอนุญาต เป็นต้น ในขณะที่มีการท าสัญญา
                                                           ื่
                       ลงทุนร่วม การท าวิจัยร่วมกับหน่วยงานอนทั้งในประเทศและต่างประเทศน้อยมาก ส่วนสถาน
                       ประกอบการขนาดเล็กได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากการท าสัญญากับผู้ขาย/ผู้ให้การถ่ายทอด

                       เทคโนโลยี ช่องทางการรับ การถ่ายทอดเทคโนโลยีนั้นพบว่าสถานประกอบการทั้ง 3 ขนาดได้จาก
                       คู่มือแนะน าเครื่องมือ/ เครื่องจักร/อุปกรณ์ ที่ซื้อมาโดยสถานประกอบการขนาดใหญ่ยังได้จากการซื้อ

                       เทคโนโลยีในประเทศด้วย และปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีของ

                       สถานประกอบการขนาดใหญ่ ได้แก่ ความสามารถในการดูดซับหรือใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีของ
                       บุคลากร สถานประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก ได้แก่ ความเต็มใจ ในการถ่ายทอดเทคโนโลยี








                       33  อรอุมา โต๊ะยามา สมลักษณ์ คงเมือง และมนูญ โต๊ะยามา. การถ่ายทอดเทคโนโลยีและขีดความสามารถทาง
                       เทคโนโลยีของสถานประกอบการอุตสาหกรรมยาขนาดต่างๆ ในประเทศไทย. TBPS10(1); 2015:14-29.
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51