Page 51 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 51

Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ       | 34





                              2) เพมการวิจัยและพฒนายาที่ตอบสนองความต้องการของประเทศที่มีรายได้น้อย รวมถึง
                                   ิ่
                                                 ั
                       ยาสูตรเด็กส าหรับเอชไอวี/เอดส์ ยาวัณโรคและมาลาเรีย ยาสูตรผสมเพอป้องกันการแพร่เชื้อเอชไอวี
                                                                                  ื่
                       จากมารดาสู่ทารกแรกเกิด ยารักษาการดื้อยา HIV และ TB

                              3) เสริมสร้างขีดความสามารถด้านกฎระเบียบในประเทศที่มีรายได้น้อย (low income
                       countries, LIC) โดยจัดให้มีการพัฒนาและฝึกอบรมหน่วยงานก ากบดูแลด้านยาของประเทศ
                                                                             ั
                                   ั
                              4) พฒนากลไกที่มีประสิทธิภาพ ช่วยลดเวลาในการขึ้นทะเบียนต ารับยา ส าหรับผลิตภัณฑ์
                       ยาส าเร็จรูปและเภสัชเคมีภัณฑ  ์
                              5) ปรับปรุงขีดความสามารถในการผลิตเภสัชภัณฑ์ส าเร็จรูป และเภสัชเคมีภัณฑ์ของ

                       อุตสาหกรรมการผลิตยาของประเทศต่างๆ ตามมาตรฐานสากลโดยการให้ข้อเสนอแนะและค าแนะน า

                       ที่มีประสิทธิภาพในระหว่างการประเมินคุณสมบัติก่อนการรับรอง การจัดฝึกอบรมและให้ความ
                                                           ุ
                       ช่วยเหลือด้านเทคนิค พบว่าจ านวนโรงงานอตสาหกรรมยาที่มีผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการรับรอง WHO PQ
                                          ์
                       อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ มีเพิ่มจาก 9 แห่งในปี พ.ศ. 2546 เป็น 72 แห่งในปี พ.ศ. 2561 ซึ่งในจ านวน
                                        ุ
                                                                   ั
                       นี้พบว่าเป็นโรงงานอตสาหกรรมยาในประเทศก าลังพฒนาถึงร้อยละ 40 และพบว่าผู้จัดหายาได้ให้
                                                                                                   ื่
                                               ุ
                       ความส าคัญกับการที่โรงงานอตสาหกรรมยานั้นได้รับการรับรอง WHO PQ ในการจัดหายาอนๆ ที่มี
                       จ าหน่ายในโรงงานดังกล่าว (Positive spill-over effect on manufacturing standards)
                                    ิ่
                              6) เพมจ านวนและศักยภาพของหน่วยบริการทดสอบยาผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติ
                       เบื้องต้นของ QCL ให้มีอยู่ในทุกภูมิภาคขององค์การอนามัยโลกและสามารถท างานร่วมกับหน่วยงาน

                       ก ากับดูแลด้านยาเพื่อตรวจสอบคุณภาพของยาในตลาดระดับประเทศ

                              2.10.1  WHO Prequalification Programme (WHO PQ): medicine      39,40
                                     การรับรองมาตรฐานด้านยาขององค์การอนามัยโลก หรือ  WHO Prequalification

                       Programme (WHO PQ): medicine นั้น เริ่มต้นขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 2001























                       39 เวบไซต์องค์การอนามัยโลก https://www.who.int/topics/prequalification/en/
                       40  www.cptrinitiative.org/ The WHO Prequalification of Medicines Programme
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56