Page 50 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 50

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม                                                        | 33





                              - การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการ โดยการประเมินคุณภาพการให้บริการทดสอบทาง
                       เคมีและจุลชีววิทยาโดยยึดตามข้อมูลที่ส่งโดย quality control laboratories (QCLs) และการ

                       ตรวจสอบสถานที่ QCLs ที่เกี่ยวข้อง และ

                              - การพัฒนาศักยภาพของหน่วยงานก ากับดูแลระดับชาติ
                              ผลผลิตของ WHO PQ ประกอบด้วย

                              - รายการผลิตภัณฑ์ยาส าเร็จรูปที่ผ่านการรับรองมาตรฐานจาก WHO โดยมีเป้าหมาย

                       เพื่อให้หน่วยงาน UN, UNAIDS, UNICEF และองค์กรระหว่างประเทศอื่นๆ ใช้เป็นข้อมูลประกอบการ
                       ตัดสินใจในการจัดซื้อยาเพื่อสนับสนุนประเทศที่มีรายได้น้อย

                              - รายการเภสัชเคมีภัณฑ์ (API) ที่ผ่านการรับรองมาตรฐานจาก WHO โดยมีเป้าหมายให้

                       บริษัทผู้ผลิตยาส าเร็จรูปใช้ในการประกันคุณภาพของเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือใช้เป็นแนวทางของ
                       หน่วยงานก ากับดูแลในการยกระดับมาตรฐานคุณภาพของเภสัชเคมีภัณฑ์ในขั้นตอนการอนุมัติ

                       ทะเบียนต ารับยาภายในประเทศ

                                                                                                     ื่
                              - รายการห้องปฏิบัติการควบคุมคุณภาพที่ผ่านการรับรองมาตรฐานจาก WHO เพอเป็น
                       การประกันคุณภาพให้แก่ห้องปฏิบัติการต่างๆ



                                                                               38
                              ประโยชน์ของการรับรองมาตรฐานโดยองค์การอนามัยโลก
                              มาตรฐาน WHO PQ ได้รับการยอมรับว่ามีความน่าเชื่อถือในการท าให้ยามีคุณภาพ ความ

                       ปลอดภัยและประสิทธิผลจากผู้เกี่ยวข้องได้แก ผู้ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณการจัดหายา หน่วยงาน
                                                            ่
                       บังคับใช้กฎหมายด้านยาของประเทศที่จัดหายา โดยที่การรับรองมาตรฐานโดยองค์การอนามัยโลก
                       เป็นประโยชน์ต่อประชากรส่วนใหญ่ที่ต้องการการรักษาโรคที่มีความส าคัญ รวมถึงสนับสนุน

                       หน่วยงานก ากับดูแล หน่วยปฏิบัติการควบคุมคุณภาพยา (QCLs) ผู้ผลิตและผู้บริจาคเพอให้บรรลุ
                                                                                                 ื่
                       วัตถุประสงค์ด้านสาธารณสุข ดังนี้
                              1) ปรับปรุงผลลัพธ์ด้านสาธารณสุขและความคุ้มค่าของงบประมาณ ประมาณการว่าลงทุน

                       1 เหรียญสหรัฐ ท าให้เกิดผลตอบแทนถึง 30-40 เหรียญสหรัฐ ด้วยการประกันคุณภาพของยาชื่อ

                       สามัญ ซึ่งจะกระตุ้นการแข่งขันด้านราคาและท าให้สามารถจัดหายาได้มากขึ้นด้วยกองทุนที่มีอยู่
                                  ี
                       เพอให้ผู้ป่วยอกหลายล้านคนที่ป่วยด้วยโรคเอดส์ วัณโรค หรือมาลาเรีย สามารถได้รับการรักษา โดย
                         ื่
                       พบว่ากว่า 70% ของยาที่ผ่านการรับรองโดยองค์การอนามัยโลกเป็นยาชื่อสามัญ




                       38  World Health Organization. 2019. Impact assessment of WHO Prequalification and Systems

                       Supporting Activities. เข้าถึงได้ที่: https://www.who.int/medicines/Impact_assessment_WHO PQ-
                                        ี่
                       RegSystems.pdf วันท 4 เมษายน 2563.
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55