Page 47 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 47

Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ       | 30





                                                ุ
                                                                                ุ
                       ของผู้ให้/เจ้าของ ปัญหาและอปสรรคในการถ่ายทอดเทคโนโลยี ที่อตสาหกรรมยาทั้ง 3 ขนาดพบ
                           ่
                       ได้แก การได้รับข้อมูลไม่ครบถ้วน ค่าใช้จ่ายสูง บริการหลังการขาย และความสามารถของบุคลากร
                                                                ุ
                                  ิ
                              เมื่อพจารณาจากข้อมูลข้างต้นจะพบว่าอตสาหกรรมยาในประเทศไทยส่วนใหญ่นั้นมีโอกาส
                       ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ครบกระบวนการค่อนข้างน้อย ท าให้ไม่ได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จาก
                       การถ่ายทอดเทคโนโลยี อย่างไรก็ตามพบว่า องค์การเภสัชกรรม (GPO) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจที่เป็น

                       บริษัทผู้ผลิตยาส าคัญภายในประเทศนั้น มีโอกาสได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากองค์กรระหว่าง

                       ประเทศรวมถึงหน่วยงานในต่างประเทศในหลายกรณี เช่น
                              - การก่อตั้งบริษัทองค์การเภสัชกรรม-เมอร์ริเออร์ชีววัตถุ จ ากัด ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุน

                       (joint venture) ขององค์การเภสัชกรรม (ถือหุ้น 49%), บริษัท ซาโนฟ ปาสเตอร์ จากัด (ถือหุ้น
                                                                                    ี่
                       49%) และบริษัท ทุนลดาวัลย์ จ ากัด (ถือหุ้น 2%) ก่อตั้งโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่
                       16 เมษายน พ.ศ. 2539 มติคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้การซื้อวัคซีนในคนเพอใช้ในหน่วยงานราชการ
                                                                                     ื่
                       ของประเทศไทยต้องผ่าน บริษัทองค์การเภสัชกรรม-เมอร์ริเออร์ชีววัตถุ จ ากัด แต่เพยงผู้เดียวเป็น
                                                                                              ี
                       ระยะเวลา 8 ปี มีการจดทะเบียนบริษัทเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2541 ด าเนินการก่อสร้างในปี
                                                                        ี่
                       2543 ภายใต้การควบคุมโดยผู้เชี่ยวชาญจากบริษัท ซาโนฟ ปาสเตอร์  จ ากัด ประเทศฝรั่งเศส เริ่ม
                       ด าเนินการในปี พ.ศ. 2544 ได้ผ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐานการผลิตยาที่ดีจากส านักงาน

                       คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 มีวัตถุประสงค์ มุ่งในการสนับสนุนคุณภาพ
                                                                   ื่
                       ของวัคซีนที่มีใช้อยู่และการเพมเติมวัคซีนชนิดใหม่ เพอตอบสนองความต้องการทางสาธารณสุขของ
                                               ิ่
                       ประเทศไทย จ าหน่ายผลิตภัณฑ์ให้ตลาดสาธารณะ เพอให้เกิดการพฒนาการผลิตวัคซีนที่ได้คุณภาพ
                                                                    ื่
                                                                               ั
                       ในระดับสากลเสริมสร้างความมั่นคงด้านวัคซีน และให้การสนับสนุนวัคซีนคุณภาพแก่แผนการสร้าง
                       เสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศ โดยในเงื่อนไขการร่วมทุนในการเจรจาเบื้องต้นนั้น อภ.จะได้รับการ

                                                                 ี่
                       ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตวัคซีนจากบริษัทซาโนฟ ปาสเตอร์ อย่างครบวงจร แต่ในสัญญาหลักร่วม
                       ลงทุนนั้น บริษัทองค์การเภสัชกรรม-เมอร์ริเออร์ชีววัตถุ มีการด าเนินการเพยงซื้อวัคซีนเข้มข้นจาก
                                                                                      ี
                                                                         ื่
                       Pasteur Merieux ในรูปวัคซีนเข้มข้นน ามาผสมเจือจางเพอการบรรจุ ปิดฉลาก ฆ่าเชื้อบรรจุใน
                       ภาชนะที่เหมาะสม การควบคุมคุณภาพ และการออกจ าหน่าย เท่านั้น อย่างไรก็ตาม หลังจากได้สิทธิ

                       พิเศษในการจ าหน่ายรายเดียวเป็นระยะเวลา 8 ปี จากผลประกอบการมีก าไรสุทธิ ก็เริ่มมีการขาดทุน
                                                                                      34
                       ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นไป เนื่องจากไม่สามารถแข่งขันในด้านราคาได้  หลังจากนั้น ได้มีการ
                        ั
                       พฒนาผลิตภัณฑ์และเป็นผู้ผลิตต้นก าเนิด (Country of origin) ด้วยนวัตกรรมใหม่ในการผลิตวัคซีน
                       ส าหรับป้องกันโรคไข้สมองอกเสบ (JE vaccine) ชนิดเชื้อเป็นที่ท าให้ออนฤทธิ์ที่ฉีดเพยงครั้งเดียวก็
                                                                                              ี
                                              ั
                                                                                  ่
                       สามารถออกฤทธิ์ป้องกันโรคได้มากกว่า 95% และได้รับการรับรองมาตรฐานจากองค์การอนามัยโลก


                       34  http://intra.gpo.or.th/AboutUs/JoinVentureบริษัทร่วมทุน/MBP.aspx
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52