Page 101 - หลักสูตร M1 ( Recruiting and Selection )
P. 101

Pacesetter


                                 การสัมภาษณ์เพือให้คําปรึกษา
                                                                 ่

                               (The Counselling Interview)



                                                                      ่
                                                               ้
                                                                                      ั
                                     ความพ่ายแพ้ส่วนบุคคลทีลึกซึงทีสุดซึงมนษย์ได้ประสบน้น
                                                                          ุ
                                                                  ่
                                                           ่
                                                                                         ็
                              เกิดจากความแตกต่างระหว่างสิงทีเราสามารถเปนได้กับสิงทีเราได้เปนจริงๆ
                                                                               ่
                                                            ่
                                                         ่
                                                                       ็
                                                                                  ่
                                                    -ASHLEY MONTAGU-
                                                                                                    ั
                                                                       ่
                          ่
                                                                                    ั
                                           ั
                                                                                        ั
                                                    ั
                                  ั
               “ฉันไม่ใช่ทีปรึกษา ฉนไม่รู้วิธีจดการกับปญหาส่วนตัวของคนอืน และต่อให ้ฉนรู้ ฉนก็ไม่อยากจดการอยู่ดี
                                ั
               นี่ไม่ใช่หน้าที่ของฉน”
                                                                             ั
                             ็
               ทัศนคติเช่นนี้เปนสิ่งที่เข ้าใจได ้ แต่เข ้าใจได ้ ไม่ได ้หมายความว่ายอมรบได ้
               แ ม ้ ว่ าคุ ณ จ ะ ไ ม่ ไ ด ้ ผ่ าน ก าร ฝ ก อ บ ร ม ใน ด ้ าน ก าร บ าบั ดเ ชิ ง ลึ ก แ ล ะ จ ริ ง ๆ
                                                    ึ
                                                                                ํ
                                                                 ่
                                                                                           ิ
                                               ็
                                        ํ
               แล ้วควรปล่อยให ้การบาบัดเปนหน้าทีของผู้เชียวชาญ แต่คุณก็ไม่ควรปดหูปดตาเช่นกัน
                                                        ่
                                                                                                 ิ
                                               ่
                                             ์
               คุณจะต ้องเผชิญกับสถานการณทีปญหาส่วนตัวส่งผลกับผลการปฏิบัติงานของใครสักคนอยูบ่อยคร้ง
                                                                                                            ั
                                                                                                     ่
                                                ั
                                                                ่
                  ่
                                       ้
                                      ้
                                                                                                         ํ
                                 ์
               เมือเกิดสถานการณเช่นนีขึน การเข ้าไปช่วยเหลือเปนสิงทีเหมาะสม ทั้งนีไม่ใช่การช่วยเหลือด ้วยการบาบัด
                                                                                ้
                                                                   ่
                                                             ็
                                                                                        ็
                                                                                                        ั
               แต่เปนการทาการสัมภาษณอย่างใส่ใจและตรงไปตรงมากับบุคคลทีกาลังเปนทุกข์เพือระบุปญหา
                                          ์
                    ็
                                                                                 ่
                                                                                  ํ
                                                                                                 ่
                            ํ
                                                 ่
                                                             ํ
               และแนะนาให ้บุคคลดังกล่าวไปพบผู้เชียวชาญหากจาเปน
                                                                ็
                        ํ
                         ั
                                              ํ
                                                                             ่
                                                                                                     ั
                                                                                      ั
               คุณควรพฒนาทักษะการให ้คาปรึกษาแม ้จะไม่มีพนกงานทีประสบปญหาอย่างหนกก็ตาม
                                                                     ั
                                                  ่
                                                                       ั
                                                                                                          ั
                                                                     ้
                                ั
               ลองพิจารณาถึงปญหาอันดับต ้นๆ ซึงก็คือโรคพิษสุราเรือรง จากสถิติบางรายการ พบว่าในสหรฐฯ
               ม  ี    ผ  ู  ้  ท  ี  ่  ต  ิ  ด       ส  ุ   ร       า      ม       า      ก       ถ  ึ    ง
                           ่
               10 ล ้านคนซึงคิดเปน 10 เปอร์เซ็นต์ของแรงงาน และสร้างความเสียหายให ้เศรษฐกิจของอเมริกาปละ
                                 ็
                                                                                                          ี
                                                                 ่
                                                                                              ั
                                                                       ี
                                                                         ่
                                                                                           ้
                         ่
               $12.5 หมืนล ้านดอลลาร์จากการสูญเสียผลผลิต เมือสิบปทีแล ้ว โรคพิษสุราเรือรงถูกเรียกว่าเป็ น
                                       ั
                                                                                                           ็
                                                                    ้
               “อาการเมาค ้างมูลค่าพนล ้านของธุรกิจ”  และตอนนีดูเหมือนโรคดังกล่าวจะได ้กลายมาเปน
               “อาการเมาค ้างมูลค่าหลายพนล ้านของธุรกิจ” เสียแล ้ว
                                         ั
               แล ้วก็มีการติดยาเสพติด มีการประมาณการไว ้ว่าผู้คนจานวน 4 เปอร์เซ็นต์ของคนทีทางานในประเทศนี   ้
                                                                                             ํ
                                                                                           ่
                                                                 ํ
               เสพยาเสพติดเปนนิสัย
                              ็
               เ พิ่ ม ค ว าม ผิ ด ป ก ติ ท าง อ าร ม ณ เ ข ้ าไ ป อี ก ร าย ก า ร
                                                                        ์
               โดยคณะกรรมการด ้านสุขภาพจิตภายใต ้การกากับดูแลของประธานาธิบดีได ้รายงานว่าประชากรถึง 15
                                                         ํ
               เปอร์เซ็นต์ต ้องการบริการด ้านสุขภาพจิต
                                        ั
                  ั
                                                                                 ้
               พนกงานอีกหลายๆ คนมีปญหาในลักษณะวิกฤติระยะสั้น วิกฤติเหล่านีอาจเกิดจากความสูญเสียหรือ
                                                                                                 ั
                        ่
                                                                               ่
                                   ั
               ความเปลียนแปลงคร้งใหญ่ในชีวิต โดยเฉพาะการสูญเสียญาติหรือเพือนสนิท ความผกผนด ้านการเงิน
                                          ํ
                                                  ็
                                                         ั
                                        ่
               ปญหาสุขภาพ ปญหาในทีทางาน เปนต ้น ปญหาเหล่านีอาจกินเวลาได ้ตั้งแต่หลายสัปดาห์ไปจนถึง
                 ั
                               ั
                                                                    ้
               หลายเดือนและอาจส่งผลกับผลการปฏิบัติงานอย่างมาก
                                                                                       ่
                                                  ็
               ภ า ว ะ ห ม ด ไฟ ก็เ ป น อี ก ส ถ า น ก า ร ณ์ที พ บ ได ้ บ่ อ ย
                                             ่
                                    ็
                                                                                                           ่
               ทุกวันนี้หนงสือพิมพ์เตมไปด ้วยเรืองราวเกียวกับภาวะหมดไฟของครู ภาวะหมดไฟของพยาบาล และอืนๆ
                         ั
                                                     ่
                                                                            ่
               แ ต่ ภ า ว ะ ดั ง ก ล่ า ว เ กิ ดขึ น ไ ด ้ กั บ ทุ ก คน ที มี คว า ม เค รี ย ดรุ ม เร้ า
                                                   ้
                                                      ั
                                                                    ่
                                                               ํ
                                                                          ่
               จากการทางานบางอาชีพ ไม่เว ้นแม ้แต่พนกงานในตาแหนงที่เกียวกับผู้คนเปนหลักและการขายประกัน
                        ํ
                                                                                     ็
                                          ่
                                                                    ่
                                                                         ั
               โดยอาชีพเหล่านีมีแนวโน้มทีจะเกิดภาวะหมดไฟได ้ง่ายทีสุด ปญหาคือภาระงานทีมากเกินไปและเวลา
                                                                                           ่
                               ้
               ทีน้อ ยเ กินไ ป   และป ญ หานีก็ ส ร้างค นทีเ หนือ ยล้าเ พ ราะท างานม าก เ กินไ ป ขึนม า  ดั งน้น
                                                                                                 ้
                                                                                                           ั
                                                             ่
                                                         ่
                                            ้
                 ่
                                     ั
                                                                             ํ
                                            ่
                                                    ่
                               ็
                                              ็
                                                                                 ่
                                                                                               ํ
                                                            ่
                                                                               ่
               ภาวะหมดไฟจึงเปนขั้นสุดท ้ายซึงเปนขั้นทีร้ายแรงทีสุดจากความเครียดทีเกียวข ้องกับการทางาน
               39
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106