Page 311 - Liver Diseases in Children
P. 311

โรคตับเรื้อรังและความดันพอร์ทัลสูง  301




              pthaigastro.org
                                        ู้
                                              ่
                  การพยากรณ์โรค HRS ในผใหญ่ทีไม่ได้รับการ  (ET-1)  และการแสดงออก  (expression)  ของ
             รักษา มีระยะเวลารอดชีวิตเพียง 2-3 สัปดาห์ และ  endothelin receptor type B (ET-B) เพิ่มขึ้น ส่งผล
             6 เดือนในผู้ป่วยที่มี HRS ชนิดที่ 1 และ 2 ตาม  ให้มี  upregulation  ของเอนไซม์  nitric  oxide

             ลาดับ  แต่ยังไม่มีข้อมูลในเด็ก การรักษาด้วย terlipressin  synthase และเซลล์บุผนังหลอดเลือดในปอดสร้าง
              �
                 28
                                                                             ึ
                                                                          ิ
             ร่วมกับอัลบูมินในผใหญ่ที่มี HRS ชนิดที่ 1 ช่วยท�าให้  ไนตริกออกไซด์เพ่มข้น ภาวะที่มี IPVD ท�าให้เกิด
                            ู้
             ผู้ป่วยประมาณร้อยละ 50 มีการท�างานของไตดีขึ้น  ภาวะเลือดมีออกซิเจนน้อย เน่องจากมีความผิดปกติ
                                                                                    ื
             และมีอัตราตายลดลง ผู้ป่วยเด็กที่มี HRS ประมาณ  ต่าง ๆ ได้แก่ arteriovenous shunting, ventilation
             ร้อยละ 6 ต้องรับการรักษาด้วยการบ�าบัดทดแทนไต   perfusion mismatch และ diffusion perfusion
             (renal replacement therapy, RRT) ระหว่างรอการ  defects พยาธิสรีรวิทยาของ HPS ในผู้ป่วยที่ไม่ได้
             ปลูกถ่ายตับ  การท�างานของไตมักดีข้นหลังการ    เป็นโรคตับ เช่น EHPVO ยังมีการศึกษาน้อย ผู้ป่วย
                                              ึ

             ปลูกถ่ายตับ                                   เด็กตับแข็งร้อยละ 40 และ EHPVO ร้อยละ 13
                                                           พบมี HPS
             Hepatopulmonary syndrome (HPS)                     ผู้ป่วยท่มี HPS อาจไม่มีอาการหรือมาด้วย
                                                                       ี
                                         ื
                    ่
                   ้
                  ผูปวยทีมี HPS พบมีหลอดเลอดในปอดขยายตัว  อาการเหนื่อย ผู้ป่วยเด็กตับแข็งที่มี HPS มักมีอาการ
                        ่
             (intrapulmonary vascular dilatation, IPVD)   ทางคลินิกหลายอย่าง ได้แก่ นิ้วปุ้ม (รูปที่ 15.11)
                                                ้
                                                ึ
             จากการสร้างไนตรกออกไซด์ในปอดเพมขนโดยไม่       ตัวเขียว (cyanosis) และหายใจล�าบาก (dyspnea)
                                              ่
                            ิ
                                              ิ
             ทราบกลไกที่แน่ชัด  การศกษาในสัตว์ทดลองพบ      แต่ผู้ป่วยเด็กที่เป็น EHPVO และมี HPS  มักมีนิ้ว
                                    ึ
                             31
                                          ่
              ่
             วาการบาดเจ็บของตับท�าให้มีการหลัง endothelin 1  ปุ้มเพียงอย่างเดียว 31























                 รูปที่ 15.11  นิ้วปุ้ม (digital clubbing) ในผู้ป่วยที่มี hepatopulmonary syndrome (ดูรูปสีหน้า 365)
   306   307   308   309   310   311   312   313   314   315   316