Page 20 - เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการผลิตพืชไร่
P. 20
หรือน้ าท่า นอกจากนี้ยังมีน้ าบางส่วนไหลซึมลงไปในดิน และสะสมอยู่ในช่องว่างระหว่างดิน ซึ่งเรียกว่า น้ าใต้
ดิน ซึ่งเป็นแหล่งน้ าตามธรรมชาติที่สะอาด เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชไร่
การปลูกพืชไร่โดยอาศัยแหล่งน้ าธรรมชาติจะปลูกได้เพียงปีละ 1 ครั้ง ในช่วงฤดูฝนเท่านั้น
และจะให้ผลผลิตสูงก็ต่อเมื่อการกระจายของฝนสม่ าเสมอ แต่ในช่วงเก็บเกี่ยวพืชไร่ต้องไม่มีฝน เพราะจะท าให้
ผลผลิตเสียหาย พืชไร่บางชนิดเมล็ดอาจงอกบนต้นหรืองอกในแปลง เช่น ข้าว ถั่วเขียว เป็นต้น
2.3.2 แหล่งน้ าชลประทาน เป็นแหล่งน้ าที่ได้จากน้ าใต้ดินและน้ าท่า ซึ่งการที่จะน าน้ ามาใช้
ในการเพาะปลูกต้องมีการขุดเจาะเป็นบ่อบาดาลหรือท าอ่างเก็บน้ า
ตาราง ปริมาณน้ าที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชไร่บางชนิด
ชนิดของพืชไร่ ปริมาณน้ าที่ต้องการ
(มิลลิเมตรต่อฤดูกาลปลูก)
อ้อย 1,650
ข้าวโพด 610
มันส าปะหลัง 500 – 2,500
ข้าวฟ่าง 450 – 650
ถั่วลิสง 500 - 600
ถั่วเขียว 410
ละหุ่ง 600 – 1,000
สับปะรด 1,000 – 1,500
3. ธาตุอาหาร (mineral nutrient)
ธาตุอาหาร มีความจ าเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช ถ้าพืชขาดธาตุอาหารจ าท าให้ชะงักการ
เจริญเติบโต ไม่สามารถพัฒนาถึงระยะออกดอก ผล และเมล็ดได้ ธาตุอาหารที่จ าเป็นต่อการเจริญเติบโตของ
พืชมี 17 ธาตุ
3.1 ความส าคัญของธาตุอาหาร
- ท าให้พืชสามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ
- ช่วยเร่งให้กระบวนการต่าง ๆ ในต้นพืชเกิดขี้นตามกลไกธรรมชาติ
3.2 แหล่งของธาตุอาหาร
ธาตุอาหารที่จ าเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชทั้งหมด 17 ธาตุ ได้มาจากน้ า และอากาศ 3 ธาตุ
และได้มาจากดิน
จากน้ าและอากาศ ได้แก่ คาร์บอน (C) ออกซิเจน (O) และไฮโดรเจน (H) เป็นธาตุที่พืชต้องการ
มากกว่าธาตุอื่น ๆ และมีเพียงพอในธรรมชาติ
จากดิน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ตามความต้องการของพืช
1. มหธาตุ หมายถึง ธาตุที่พืชต้องการในปริมาณมากจึงจะเพียงพอต่อการเจริญเติบโต แบ่ง
ออกเป็น 2 พวกคือ ธาตุอาหารหลัก มี 3 ธาตุ คือ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และ โปแตสเซียม (K) พืช
ต้องการมาก แต่ได้รับจากดินไม่เพียงพอ และธาตุอาหารรอง มี 3 ธาตุคือ แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg)
และก ามะถัน (S) พืชต้องการน้อยกว่าธาตุอาหารหลัก และได้รับจากดินเพียงพอ
เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการผลิตพืชไร่ รหัสวิชา 20501 – 2202 หน้า 17