Page 38 - ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย
P. 38
29
6. จุดมุ่งหมายของการประเมินโดยใช้แฟ้ มสะสมงาน มีดังนี้
ช่วยให้ครูได้รวบรวมงานที่สะท้อนถึงความส าคัญของนักเรียนในวัตถุประสงค์ใหญ่ของการเรียนรู้
ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถจัดการเรียนรู้ของตนเอง
ช่วยให้ครูได้เกิดความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งในความก้าวหน้าของผู้เรียน
ช่วยให้ผู้เรียนได้เข้าใจตนเองมากยิ่งขึ้น
ช่วยให้ทราบการเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้า ตลอดช่วงระหว่างการเรียนรู้
ช่วยให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึงประวัติการเรียนรู้ของตนเอง
ช่วยท าให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างการสอนกับการประเมิน
7. กระบวนการของการจัดท าแฟ้ มสะสมงาน
การจัดท าแฟ้ มสะสมงาน มีกระบวนการหรือขั้นตอนอยู่หลายขั้นตอน แต่ทั้งนี้ก็สามารถปรับปรุง
ได้อย่างเหมาะสม Kay Burke (1994) และคณะ ได้ก าหนดขั้นตอนของการวางแผนจัดท าแฟ้มสะสมงานไว้ 10
ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 ก าหนดจุดมุ่งหมาย และรูปแบบ
ขั้นที่ 2 ขั้นการรวบรวมและจัดระบบของผลงาน
ขั้นที่ 3 ขั้นการเลือกผลงานหลักตามเกณฑ์ที่ก าหนด
ขั้นที่ 4 ขั้นการสร้างสรรค์แฟ้ มสะสมผลงาน
ขั้นที่ 5 ขั้นการสะท้อนความคิด หรือความรู้สึกต่อผลงาน
ขั้นที่ 6 ขั้นการตรวจสอบเพื่อประเมินตนเอง
ขั้นที่ 7 ขั้นการประเมินผล ประเมินค่าของผลงาน
ขั้นที่ 8 ขั้นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับบุคคลอื่น
ขั้นที่ 9 ขั้นการคัดสรรและปรับเปลี่ยนผลงานเพื่อให้ทันสมัย
ขั้นที่ 10 ขั้นการประชาสัมพันธ์ หรือจัดนิทรรศการแฟ้มสะสมงาน
8. รูปแบบ (Model) ของการท าแฟ้ มสะสมงาน สามารถด าเนินการได้ดังนี้
ส าหรับผู้เริ่มท าไม่มีประสบการณ์มาก่อนควรใช้ 3 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 การรวบรวมผลงาน
ขั้นที่ 2 การคัดเลือกผลงาน
ขั้นที่ 3 การสะท้อนความคิด ความรู้สึกในผลงาน
ส าหรับผู้ที่มีประสบการณ์ใหม่ ๆ ควรใช้ 6 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 ก าหนดจุดมุ่งหมาย
ขั้นที่ 2 การรวบรวม
ขั้นที่ 3 การคัดเลือกผลงาน