Page 96 - วิทยาศาสตร์การกีฬา
P. 96

๘๗




                                 ๓.๕  Elevation เปนการจัดวางสวนที่บาดเจ็บใหสูงกวาระดับหัวใจ เพื่อใหเลือดไหล
                 กลับสูหัวใจสะดวกขึ้น ทําใหการบวมลดลงได เชน การยกเทาสูงเพื่อใหไลเลือดกลับสูหัวใจไดสะดวก

                 เปนการชวยลดบวมได
                                 ๓.๖  Diagnosis/Disposal สงพบแพทยหรือสถานพยาบาล เพื่อใหการรักษา

                 พยาบาลที่ถูกตองตอไป
                            การปฐมพยาบาลดวยวิธีการ PRICED ดังกลาวแลวนั้น ตองทําใหครบทุกขั้นตอนจึงจะ

                 ไดผลลัพธที่ดี ระยะเวลาการใชวิธีการดังกลาวแลวควรอยูใน ๔๘-๗๒ ชั่วโมงแรกหลังจากที่ไดรับบาดเจ็บ
                 จากการเลนกีฬา

                            ô.  ¡ÒÃà¤Å×è͹ŒÒ¼ٌºÒ´à¨çºÍÍ¡¨Ò¡Ê¹ÒÁ¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹ สามารถทําได ๓ วิธี ดังนี้
                                 ๔.๑  การชวยพยุง ใชในกรณีที่มีการบาดเจ็บตอขาขางหนึ่ง ขาอีกขางสามารถเดินได

                 โดยไมมีการบาดเจ็บที่สวนอื่น นักกีฬารูตัวดี วิธีนี้ใชผูชวย ๒ คน ขนาบทั้ง ๒ ขางของนักกีฬา นักกีฬา
                 ใชแขนโอบไหลของผูชวย ผูชวยใชแขนคนละขางประสานพยุงบริเวณหลังของนักกีฬา























                                 ๔.๒   การชวยอุม  ใชในกรณีที่มีการบาดเจ็บไมมาก  เชนเดียวกับกรณีแรก
                 แตนักกีฬาไมพรอมที่จะเดินเอง ใชผูชวย ๒ คน ขนาบทั้ง ๒ ขางของนักกีฬา นักกีฬาใชแขนโอบไหลผูชวย

                 ผูชวยใชแขนคนละขางประสานพยุงบริเวณหลังของนักกีฬา อีกมือขางหนึ่งประสานเพื่อรับนํ้าหนัก
                 ที่บริเวณตนขาของนักกีฬา แลวยกนักกีฬาขึ้น


















                                                                          ǰ
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101