Page 10 - หลักโภชนา
P. 10

๓




                 การดูแลสุขภาพทางโภชนาการ

                          เปนกระบวนการเพิ่มความสามารถในการควบคุม และเสริมสรางคุณภาพในการปฏิบัติการ
                 ทางโภชนาการในชีวิตประจําวันใหไดบรรลุถึงวิถีชีวิตที่มีสุขภาพที่ดี
                          หลักการดูแลสุขภาพทางโภชนาการควรปฏิบัติ ๔ ประการ คือ

                          ๑. การปฏิบัติกิจวัตรในชีวิตประจําวัน เชน นิสัยการรับประทานอาหาร ชนิดและปริมาณ
                 อาหาร ความถี่ในการบริโภคอาหาร เวลาของมื้ออาหาร

                          ๒. การปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสงเสริมการมีภาวะโภชนาการที่ดี เชน การออกกําลังกาย
                 การควบคุมนํ้าหนัก การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล การรักษาอารมณใหผองใส การพักผอน

                 การนอนหลับ
                          ๓. การปฏิบัติกิจกรรมเพื่อไดรับประทานอาหารที่ถูกตองเหมาะสม เชน การเลือกรับประทาน

                 อาหารที่มีคุณคา ปราศจากสารพิษ เชื้อโรค สารสังเคราะห การสนใจฉลากโภชนาการ
                          ๔. การปฏิบัติกิจกรรมดูแลติดตามการเปลี่ยนแปลงภาวะโภชนาการ เชน ติดตามชั่งนํ้าหนักตัว

                 สมํ่าเสมอ  สนใจนํ้าหนักตัวที่เพิ่มหรือลด  สังเกตอาการผิดปกติของรางกายที่เกี่ยวของกับ
                 การรับประทานอาหาร



                 การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพดี มีประโยชน ดังนี้

                          ๑. ควบคุมนํ้าหนักได
                          ๒. ลดไขมันในเสนเลือดได

                          ๓. ปองกันโรคหัวใจและหลอดเลือด


                 หลักการเลือกอาหารบริโภคในชีวิตประจําวันควรเลือกดังนี้

                          ๑. เลือกรับประทานอาหารสด อาหารธรรมชาติที่ดัดแปลงหรือผานกระบวนการนอยที่สุด

                 ปรุงใหมๆ มากกวาอาหารสําเร็จรูป
                          ๒. เลือกรับประทานอาหารหลายชนิดในแตละวัน
                          ๓. หลีกเลี่ยงอาหารปรุงแตง เจือสีสังเคราะห สารฟอกสี ผงชูรส อาหารหมักดอง

                 ใชสารเคมี เชน สารไนเตรท ไดแก แฮม เบคอน ไสกรอก
                          ๔. หลีกเลี่ยงอาหารขบเคี้ยว อาหารมีคุณคานอย เชน นํ้าอัดลม ไอศกรีม อาหารกรอบ ๆ

                 ที่มีรสเค็ม มันฝรั่งทอด
                          ๕. หลีกเลี่ยงการใชนํ้าตาลและอาหารหวานจัด

                          ๖. จํากัดเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล สารเสพติด ชา กาแฟ
                          ๗. เลือกรับประทานอาหารที่มีโปรตีนจากพืชและสัตว

                          ๘. รับประทานผักทุกมื้ออาหาร ในแตละวันควรรับประทานผักสีตางๆ เชน ฟกทอง
                 ผักใบเขียว แครอท และควรรับประทานผักสดดวย
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15