Page 47 - Education 4.0 : ศ.ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์
P. 47

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์  39
                                                           กับแนวคิดและการขับเคลื่อนการศึกษา 4.0


                       ในแนวคิดของทางยุโรปซึ่งเยอรมันเปนคนเริ่มตนและตามมาดวยประเทศ
                ฝรั่งเศส จะเนนความสามารถของเทคโนโลยีที่จะมาสราง product หรือ ผลผลิต
                มีการพัฒนาเทคโนโลยี โดยหลักที่วาเทคโนโลยีที่เขามาเปนเทคโนโลยีที่ผสมผสานกัน
                ระหวางเทคโนโลยีสมัยใหมทั้งหลาย และเกิดคําวา Internet of Things หรือ IOT ขึ้นมา
                ผลจากการผสมผสานเหลานี้ทําใหความสามารถในการผลิตเพิ่มมากขึ้นกวาเทาตัว
                สามารถผลิตไดเร็วเทาตัว และสามารถทําใหการเคลื่อนยายสินคารวดเร็วและอัตโนมัติมาก

                เพราะมีการสื่อสารระหวางโรงงานดวยอินเตอรเน็ตระหวางกัน ซึ่งจะทําใหยุโรปที่ใช
                เทคโนโลยีนี้มีการผลิตสินคารวดเร็วมหาศาล และราคาถูก คําถามที่สําคัญที่สุด คือ
                สินคานั้นเปนสินคาใหมหรือไม ซึ่งโดยสวนมากเขาเนนสินคาซึ่งเปนนวัตกรรม เปนของใหม
                และถาทําตามนี้ได ก็เชื่อวาจะทําใหเศรษฐกิจของประเทศในแถบนี้รํ่ารวยและรายไดมหาศาล




                              หากวิเคราะห์อย่างละเอียดจะพบว่า 4.0
                        ในประเทศไทยมีลักษณะเป็นบริโภคนิยม หมายความว่า
                       เราสอน เราเรียนกัน เราเอาความรู้คนอื่นมาสอนกันทั้งนั้น
                    เราบริโภคความรู้คนอื่น แล้วเราก็มาสอนต่อกันเป็นความรู้คนอื่น
                      ซึ่งความรู้ของฝรั่งถูกนํามาเผยแพร่ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5
                      การศึกษาเหล่านี้สอนให้คนถนัดด้านการบริโภคดังที่กล่าวมา
                          สอนให้ถนัดในการซื้อกินซื้อใช้ ซึ่งถ้ายังเป็นแบบนี้
                           การศึกษาเราคงจะแย่และประเทศเราเราคงจะแย่
                  ดังนั้น เราต้องปรับเปลี่ยนการศึกษาไทยให้เป็นการศึกษาที่ไม่ใช่สร้าง
                  consumer แต่สร้าง producer ให้คิดและประดิษฐ์อะไรขึ้นมาให้ได้
                          เราจึงเรียก ว่า producer Education และสิ่งนี้
                       เราจึงเรียกว่ายุค 4.0  เพราะยุคที่ 4.0 เป็นยุคผลิตภาพ
                               คือ เป็นการศึกษาที่สร้างผลผลิตขึ้นมา





                       แนวคิดของอเมริกาก็เชนเดียวกัน คือ เนนนวัตกรรม แตไมไดเนนวาตองมาทาง
                ผลผลิตเต็มที่ เขาเชื่อวาถาสรางคนขึ้นมาใหมีความสามารถในดานการผลิตนวัตกรรม
                คนๆ นั้นก็จะสรางงาน สรางรายไดหลายดาน ดังนั้นประเทศไทยเองก็คิดวาควรจะมี 4.0
                เหมือนกัน หากวิเคราะหอยางละเอียดจะพบวา 4.0  ในประเทศไทยมีลักษณะเปนบริโภคนิยม
                หมายความวา เราสอน เราเรียนกัน เราเอาความรูคนอื่นมาสอนกันทั้งนั้น เราบริโภค
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52