Page 63 - คู่มือ RF -kt-20-08-2018-4-45 (ฉบับเต็ม)_(29-08-18)
P. 63

ค าถามเพื่อการปรับใช้ (A: Apply) ถามถึงปัจจุบันและการเผชิญเหตุการณ์ในอนาคต

                              - ในอนาคต ถ้าผู้เรียนพบเห็นหรือเจอเหตุการณ์ หรือมีความรู้สึกอย่างนี้ ผู้เรียนจะมีแนวทาง
               ปฏิบัติอย่างไร

                              - ในการท างานกลุ่มครั้งต่อไป หากมีความขัดแย้งเกิดขึ้นอย่างนี้อีกผู้เรียนจะท าอย่างไรหรือ

               คลี่คลายสถานการณ์อย่างไร?
                              - ผู้เรียนตั้งใจจะท าอะไร ปฏิบัติอย่างไร หรือเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง เพื่อการมีชีวิตที่ดีใน

               อนาคต หรือเพื่อการเรียนที่ดีขึ้น หรือเพื่อการท างานให้ส าเร็จ
                              - ผู้เรียนมีความรู้สึกอย่างไร กับความขัดแย้งหรือการมีความคิดเห็นไม่ตรงกัน



                       7. การสะท้อนคิดโดยการให้ (Positive Feedback)

                              การชื่นชมผู้เรียน ให้มองหาสิ่งที่เป็นด้านบวก ด้านดี และกล่าวชมเชย ควรเป็นการชื่นชม
               ด้านดีของผู้เรียนจริงๆ ที่ท าให้ผู้เรียนรู้สึกดี รู้ว่าผู้สอนมองเห็นในด้านดีของตน แม้ว่าด้านนี้จะผ่านมาหลายวัน

               หลายสัปดาห์ หลายเดือน แต่สิ่งเหล่านี้ ก็จะช่วยสร้างความรู้สึกดีๆให้กับกลุ่มผู้เรียน ได้แก่ ผู้เรียนเป็นคนช่าง
               สังเกตสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้ค่อนข้างมากผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจากหลายช่องทาง แสดงถึงความพยายาม

               ในการเรียนรู้

                              การเชิญชวนให้มีการแก้ไข เมื่อผู้สอนได้ชื่นชมผู้เรียนในด้านบวกไปแล้ว ผู้สอนควรสังเกตว่า

               ผู้เรียนมีเรื่องใดบ้าง ที่ควรปรับปรุงแก้ไข พัฒนาให้ดีขึ้น โดยเลือกใช้ค าพูดด้านบวก หลีกเลี่ยง การพูดต าหนิ

               ท าให้เสียก าลังใจ วิธีการพูดมุ่งประโยชน์ที่ตัวผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ดีขึ้น ได้แก่ ผู้เรียน
               เป็นคนช่างสังเกตสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้ค่อนข้างมาก หากมีการจัดเรียงหมวดหมู่ข้อมูลก็จะดียิ่งขึ้น,

               ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจากหลายช่องทางแสดงถึงความพยายามในการเรียนรู้ โดยเฉพาะข้อมูลที่มาจากแหล่ง

               สืบค้นที่เชื่อถือได้
                              การให้ความเชื่อมั่น เมื่อผู้สอนได้เชิญชวนให้ผู้เรียนมีการแก้ไข และพัฒนาปรับปรุง

               พฤติกรรมการเรียนรู้แล้ว ผู้สอนควรให้ความเชื่อมั่นโดยการกล่าวให้ก าลังใจ ได้แก่ ผู้สอนเชื่อมั่นว่าผู้เรียน
               สามารถจัดเรียงข้อมูลได้, ผู้เรียนท าได้ดีมาโดยตลอดและครั้งนี้ผู้สอนแน่ใจว่าผู้เรียนจะสืบค้นข้อมูลได้ดีขึ้นอีก


                       8.  การจดบันทึกเรื่องราวประจ าวัน Diary
                       การให้ผู้เรียนจดบันทึกเรื่องราวประจ าวันเป็นเทคนิคหนึ่งของการสะท้อนคิดที่มีความส าคัญ เป็นการ

               สะท้อนความคิด ความรู้สึกของผู้เรียน ที่สามารถน าไปปรับปรุงการเรียนการสอนได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

                              กำรสะท้อนคิดเกี่ยวกับควำมพร้อมของนักศึกษำในกำรฝึกภำคปฏิบัติ
                              “...ในวันแรกหนูรู้สึกตื่นเต้น และเกร็งมากเลยค่ะ เพราะเป็นวอร์ดใหม่ส าหรับหนู เมื่อขึ้น

               มาถึงก็กังวลมากเลยค่ะ...”
                               “...คนไข้ต่างจาก ward ที่เคยผ่านมา ...คนไข้ก็มีแต่หนักๆ...”

                              “…รู้สึกว่าเวลาที่เดินมาเรียน มาฝึกงานบน ward เหมือนมาแบบขาดชีวิตชีวา…”
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68