Page 67 - คู่มือ RF -kt-20-08-2018-4-45 (ฉบับเต็ม)_(29-08-18)
P. 67

1. กำรเขียนเล่ำเรื่อง (Narrative-base practice) โดยการให้ผู้เรียนเขียนเล่าเรื่อง ผู้สอน

               ประเมินการเขียนและการสะท้อนความคิดของผู้เรียน ตามแบบแผนของการวัดและประเมินที่ก าหนด
                              2. กำรประเมินและประเมินผลกำรสะท้อนคิด (Rethinking assessment and evaluation) โดยให้

               ผู้เรียนประเมินความคิดของตนเอง บันทึกเสียงที่ได้ยินทั้งใกล้และไกล มุ่งความสนใจไปยังเสียงที่ได้ยินอย่าง

               ตั้งใจ ต าแหน่ง รูปแบบ อารมณ์จากเสียงที่ได้ยิน สิ่งที่เกี่ยวข้อง มุ่งความสนใจในปัจจุบัน สิ่งทั้งหมดรอบๆ การ
               เข้ามามีส่วนร่วม และบันทึกการเปลี่ยนผ่านของเสียงที่ได้ยิน

                              3. กำรประเมินตำมเกณฑ์ในแต่ละด้ำน (Rubrics) เป็นการก าหนดเกณฑ์การประเมินเป็นด้าน
               และให้ค่าคะแนนเป็น Rating scale มี 4 ระดับ ตัวอย่างเช่น



                                                                           ระดับคะแนน
                               เกณฑ์การประเมิน
                                                               4          3           2         1
                        1.  ความถูกต้อง

                        2.  ความชัดเจน

                        3.  ความลึกของเนื้อหา

                        4.  ความกว้างของเนื้อหา

                        5.  ความเป็นธรรม



                              4. กำรประเมินผลระหว่ำงกำรสอน (Formative evaluation) เป็นการวัดและประเมินผลใน

               ระหว่างภาคเรียน อาจเป็นหลังการเรียนการสอน 3-4 ครั้ง หรือจะบ่อยครั้งเท่าที่เห็นสมควรก็ได้ เป็นการ
               กระตุ้นความสนใจของผู้เรียนวิธีหนึ่ง โดยลักษณะค าถามเกี่ยวกับการประเมินผลการสะท้อนคิดระหว่างการ

               สอน มีดังนี้

                                 1.  ผู้เรียนรู้สึกอย่างไรในการเรียนวันนี้
                                 2.  ผู้เรียนต้องการอะไรเพิ่มเติมหรือไม่

                                 3.  มีอะไรที่ท าให้รู้สึกไม่สบายใจหรือไม่
                                 4.  มีความวิตกกังวลกับสิ่งใดหรือไม่


                              5. กำรประเมินผลรวมหลังกำรสอน (Summative evaluation) ส่วนใหญ่เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์ใน
               การเรียนตอนปลายภาคเรียน มีวัตถุประสงค์เพื่อน าคะแนนมาจัดระดับและตัดสินว่า สอบได้หรือสอบไม่ได้ ได้

               เกรดเท่าไร เป็นการประเมินความสามารถในภาพรวม โดยลักษณะค าถามเกี่ยวกับการประเมินผลรวมการ

               สะท้อนคิดหลังการสอน มีดังนี้
                                 1.  อะไรท าให้หลักสูตรนี้มีพลังการเรียนรู้ที่มากขึ้น

                                 2.  อะไรที่ท าให้รู้สึกมีชีวิตชีวาในการเรียน
                                 3.  ความส าเร็จสูงสุดของการเรียนหลักสูตรนี้คืออะไร
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72