Page 305 - 57 คู่มือปฏิบัติงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม
P. 305
๓๐๓
๕.๑ งานแผนงาน
งานแผนงาน คือ สิ่งที่แสดงถึงความตั้งใจล่วงหน้าที่จะด าเนินการใดๆ ภายในระยะเวลาหนึ่ง
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ผลที่เกิดจากการวางแผนส่วนหนึ่งจะปรากฏในรูปเอกสาร เพื่อใช้เป็น
หลักฐานยืนยันการตัดสินใจ ซึ่งจะระบุถึงสิ่งที่จะกระท าเหตุผลที่เลือกท าวิธีการด าเนินการผู้ด าเนินงาน
และสถานที่ด าเนินงานด้านการศึกษาการวางแผนหมายถึงการก าหนดความต้องการวิธีการด าเนินการ
และผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตโดยใช้หลักวิชาเหตุผลมีข้อมูลประกอบมีการน าเสนอปัญหาเพื่อขจัด
อุปสรรคที่จะเกิดกับเป้าหมายข้างหน้าท าให้ผู้ปฏิบัติรู้ว่าจะท าอะไรที่ไหนเมื่อใดกับใครท าอย่างไร และท า
เพื่ออะไรอย่างชัดเจนซึ่งจะน าไปสู่การปฏิบัติงานที่ถูกต้องและบรรลุวัตถุประสงค์การวางแผนจึงมี
ความส าคัญอย่างยิ่งเปรียบเสมือนกับเข็มทิศแผนที่เดินทางหรือพิมพ์เขียว (Blue Print) เป็นยานพาหนะที่
น าไปสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างมีระบบ หากปราศจากการวางแผนที่ดีระบบก็ไม่สามารถปรับเปลี่ยนตัวให้เข้า
กับอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันได้จึงมีค ากล่าวว่า “การวางแผนที่ดีย่อมน าไปสู่ความส าเร็จกว่าครึ่ง
(Well begun is half done)” หรืออาจกล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า การวางแผนที่ดีมีความส าคัญอย่างยิ่งต่อ
ความส าเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์กรในประการต่าง ๆ เช่น การท างานของบุคลากรเกิดการประสานงาน
ซึ่งกันและกัน ช่วยให้เกิดการประหยัดทางการบริหารทั้งคนเงินวัสดุและการจัดการช่วยให้การปฏิบัติงาน
ส าเร็จลุล่วงไปอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพเป็นการกระจายงานแบ่งเบาภาระความรับผิดชอบของ
ผู้บริหารสามารถระดมสรรพก าลังทรัพยากร (Mobilization of resources) ได้ตามความต้องการอย่าง
ประสิทธิภาพผู้บริหารสามารถทราบปัญหาอุปสรรคที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามขั้นตอนของแผนได้
อย่างชัดเจน (Plenum Lamentation) สามารถด าเนินการแก้ไขปรับปรุงได้ทันต่อเหตุการณ์คุ้มค่า
และลดความสูญเปล่า
๕.๒ งานวิชาการ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ก าหนดไว้ว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย”และ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๐
เช่นเดียวกันและในหมวด ๔ แนวทางการจัดการศึกษาระบุไว้ในมาตรา ๒๒ ถึงมาตรา ๓๐ ที่ให้ความส าคัญ
กับผู้เรียนและกระบวนการจัดการศึกษาอย่างชัดเจน
สรุปได้ว่า บทบาทส าคัญของโรงเรียนต้องยึดหลักตอบสนองต่อผู้เรียน โดยยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคน
มีความรู้ความสามารถและพัฒนาตนเองได้ ถือว่าผู้เรียนส าคัญที่สุดการจัดการเรียนการสอนต้องจัด
กิจกรรมส่งเสริมให้เหมาะสมกับความสนใจความถนัดของผู้เรียนมุ่งเน้นประเมินพัฒนาการของผู้เรียนความ
ประพฤติและพฤติกรรมการเรียนการเข้าร่วมกิจกรรมวัดผลและประเมินผลผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย
เหมาะสมกับระดับและรูปแบบการจัดการศึกษา หากเปรียบงานแผนงานเป็นสมองเป็นแผนที่เป็นเข็มทิศ
ของชีวิต งานวิชาการก็คือหัวใจของโรงเรียนที่มีความสัมพันธ์กับงานแผนอย่างแยกกันไม่ได้การ
จะบริหารงานวิชาการให้ประสบผลสัมฤทธิ์ต้องตระหนักว่าหัวใจของการจัดการศึกษาคือผู้เรียนหากจะดูว่า
งานวิชาการโรงเรียนใดเป็นอย่างไรดูได้จากนักเรียนในโรงเรียนนั้นๆ
๕.๓ งานกิจการนักเรียน
กิจการนักเรียนเป็นอีกหนึ่งภาระงานที่ส าคัญ โรงเรียนมีบทบาทหน้าที่จัดระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนอย่างชัดเจนและมีประสิทธิภาพรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคลมีข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน
ที่ครบถ้วนและเป็นปัจจุบันเพื่อช่วยให้ครูเข้าใจเข้าถึงและพัฒนานักเรียนโดยผ่านกระบวนการวางแผนและ
คู่มือปฏิบัติงาน
โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา