Page 584 - Full paper สอฉ.3-62
P. 584

แรงจูงใจในการปฏิบัติงานส านักงานของส านักงาน
                                                    จังหวัดมหาสารคาม

                             Work Motivation of Employees of Maha Sarakham Provincial Office

                                             ผ่องศรี  บัวบุตร, จิราภา  บุญจิราพัชร
                                            Phongsri Buabut, Jeerapa  Bunjiraphet

                               ภาควิชา   เทคโนโลยี การจัดการส านักงาน   คณะ  การจัดการส านักงาน

                          วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม  สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


               บทคัดย่อ

                       การศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ         ด้านบรรยากาศในการท างาน และด้านความมั่นคงใน
               ข้าราชการส านักงานจังหวัดมหาสารคาม ในครั้งนี้มี    การท างาน
               วัตถุประสงค์                                              ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ

                       1) เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการ         ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้าง ผลการศึกษา
               ป ฏิบ ัติงาน ข อ งข้าราชการส าน ักงาน จังห วัด     พบว่า แรงจูงใจในการปฏิบัติงานในภาพรวมและทุก
               มหาสารคาม                                          ด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามล าดับ ได้แก่ แรงจูงใจ

                       2) เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน  ด้านความผูกพัน ด้านความร่วมมือ ด้านความทุ่มเท
               ของข้าราชการส านักงานจังหวัดมหาสารคาม              และด้านความพยายาม
               ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการใน

               ส านักงานจังหวัดมหาสารคาม จ านวน 5 0  คน           1. บทน า
               เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้       ในการบริหารงานขององค์กรไม่ว่าจะเป็น

               คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน       องค์กรขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ การพัฒนาทรัพยากร
                       ปัจจัยส่วน บุคคล ผลการศึกษา พบ ว่า         บุคคลถือว่าเป็นกลยุทธ์ที่ส าคัญในการน าองค์กรไปสู่
               ประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21-50     การบรรลุวิสัยทัศน์และเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

               ปี จบการศึกษาในระดับ ปวส./อนุปริญญา ขึ้นไป อยู่ใน  และประสิทธิผลโดยต้องอาศัยทรัพยากรการบริหารที่
               ต าแหน่งข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจ า      ส าคัญ 4 ประการคือ บุคลากร (Man) เงินทุน (Money) วัสดุ
               และมีประสบการณ์การท างานระหว่าง 1-30 ป ี           และอุปกรณ์(Material) และการจัดการ (Management) ใน

                       ระดับปัจจัยในการปฏิบัติของข้าราชการ        บรรดาทรัพยากร การบริหารเหล่านี้ทรัพยากรด้าน
               พนักงาน ส านักงานจังหวัดมหาสารคาม พบว่า ระดับ      “บุคลากร” เป็นทรัพยากรที่ส าคัญ ที่สุดใน การ
               ปัจจัยในการปฏิบัติงานในภาพรวมและทุกด้านอยู่ใน      บริหารงาน เพราะบุคลากร เป็นผู้จัดหา

               ระดับมาก เรียงตามล าดับ ได้แก่ ปัจจัยในการ         และใช้ทรัพยากรบริหารอื่น ๆ คือ เงินทุน วัสดุและ
               ปฏิบัติงานด้านความก้าวหน้าในการท างาน ด้าน         อุป ก ร ณ ์ต ล อ ด จ น ด าเนิน ก าร จัด ก าร ให ้เกิด

               เงินเดือนและสวัสดิการ ด้านนโยบายและการบริหาร       ประสิทธิภาพได้ดังนั้นผู้บริหารงานจึงต้องให้
                                                                  ความส าคัญแก่บุคลากรขององค์กร ในปัจจุบันการ





                                                                                                              566
   579   580   581   582   583   584   585   586   587   588   589