Page 664 - Full paper สอฉ.3-62
P. 664
ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียน ที่มีต่อ 5.สรุปผล และข้อเสนอแนะ
แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรม Google Apps. for การวิจัยการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการ
Education ซึ่งตารางจะแสดงระดับค่าความคิดเห็นของผู้เรียน ใช้นวัตกรรม Google Apps. for Education ส าหรับนักศึกษา
รายการที่ประเมิน ความพึงพอใจ ระดับ ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยอาชีวศึกษา
(N=13) ร้อยเอ็ด ด้วยการบูรณาการการเรียนการสอน รายวิชาการ
1. อธิบายเข้าใจง่าย 4.45 มาก บริหารการจัดจ าหน่าย มีประสิทธิภาพตามเกณท์ 76/80
2. เนื้อหาสอดคล้องกับบทเรียน 4.39 มาก หมายความว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรม
3. ภาพสอดคล้องกับบทเรียน 4.28 มาก Google Apps. for Education ท าให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
4. ค าอธิบายเครื่องมือชัดเจน 4.46 มาก ระหว่าง เรียนคิดเป็นคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 76 และผลการเรียน
5. ตัวอย่างการใช้เครื่องมือ 4.43 มาก หลังเรียนของนักศึกษาคิดเป็นคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80 แสดง
ชัดเจน ให้เห็นว่านักศึกษามีพัฒนาการเรียนรู้ในรายวิชาการบริหาร
6. ภาพที่น าเสนอมีความ 4.37 มาก การจัดจ าหน่าย ด้วยนวัตกรรม Google Apps. for Education
สวยงาม สูงขึ้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนรู้ ด้วย
7. ความชัดเจนของตัวอักษร 4.47 มาก นวัตกรรม Google Apps. for Education มีผลสัมฤทธิ์ทางการ
8. สามารถทบทวนบทเรียนได้ 4.27 มาก เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่
9. สีของบทเรียนสอดคล้องกับ 4.33 มาก ระดับ .05 คือ นักศึกษาที่เรียนรู้จาก Google Apps. for
ภาพประกอบ Education ผ่านห้องเรียนออนไลน์ผ่าน Google classroom
10. ค าอธิบายตัวอย่างชัดง่ายต่อ 4.37 มาก รายวิชาการบริหารการจัดจ าหน่าย หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
การฝึก ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมพัฒนา
11. ความสะดวกในการเรียน 4.40 มาก ผู้เรียนด้วยนวัตกรรม Google Apps.ผ่านห้องเรียนออนไลน์
บทเรียน Google classroom จากผลการวิจัยพบว่า ผู้เรียนมีความพึง
12. ความชัดเจนของไอคอน 4.30 มาก พอใจ อยู่ในระดับมาก
13. ความเหมาะสมของเนื้อหา 4.47 มาก มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.37 รายวิชาการบริหารการจัด
14. ฝึกปฏิบัติได้ง่าย 4.23 มาก จ าหน่าย มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจ 4.37 มาก การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์
จากตารางที่ 5 การวิเคราะห์ความคิดเห็นและ ความพึง ทางการเรียนของผู้เรียนก่อนและหลังเรียนด้วย Google Apps.
พอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้นวัตกรรม Google Apps. for for Education นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการตลาด
Education พบว่า มีค่าความพึงพอใจของภาพรวมอยู่ในระดับ จ านวน 10 คน
มาก ( =4.37) กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณหัวหน้าภาควิชาการตลาด หัวหน้าสาขาวิชา
การตลาด ที่ได้ให้ค าแนะน า ช่วยเหลือ ตลอดจนแก้ไข
ปรับปรุงข้อบกพร่องเพื่อให้งานวิจัยฉบับนี้ ส าเร็จลุล่วงไปได้
ด้วยดี
4
646