Page 662 - Full paper สอฉ.3-62
P. 662

ทักษะชีวิต ซึ่งจ าเป็นจะต้องให้ผู้เรียนสามารถน ามาประยุกต์ใช้      3.2.1 ตัวแปรต้น  ได้แก่ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ Google
             ในการด าเนินชีวิตได้ รวมถึงกระตุ้นให้ผู้เรียนได้แสดงออกซึ่ง Apps. for Education  ส าหรับนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี

             ในการปรับกระบวนการเรียนการสอนให้เอื้อต่อการพัฒนาขีด สาขาวิชาการตลาด
             ความสามารถของผู้เรียนได้แสดงศักยภาพของตนตาม           3.2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ประสิทธิภาพของ

             จุดประสงค์การเรียนรู้แต่ละระดับโดยยึดหลักว่าผู้เรียนมี  บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ และความคิดเห็นทางการเรียนวิชาการ
             ความส าคัญที่สุด                                 บริหารการจัดจ าหน่าย ด้วยนวัตกรรม Google Apps. for
                     ท าให้ผู้วิจัยมีความสนใจว่า การใช้เทคโนโลยีบทเรียน  Education  ส าหรับนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี สาขาวิชา
             ออนไลน์ซึ่ งเป็ นนวัตกรรมทางการศึกษาที่ช่วยเพิ่ม  การตลาด

             ประสิทธิภาพและประสิทธิผลส าหรับการจัดการระบบเรียนการ  3.3. เนื้อหา
             สอน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบท างานร่วมกันได้ทุกที่ทุกเวลา        การใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์  Google Apps. for

             (ไพรัชนพ วิริยวรกุล) โดยค านึงถึงเทคนิคและวิธีการที่  Education ส าหรับนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี
             เหมาะสม สอดคล้องกับผู้เรียน และสามารถตอบสนองความ  3.4. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย
             แตกต่างระหว่างบุคคลได้ดี ส าหรับใช้เป็นสื่อการ เรียนด้วย        เดือน มิถุนายน – สิงหาคม  ภาคเรียนที่ 1  ปี การศึกษา

             ตนเอง ผู้เรียนสามารถมีส่วนร่วมในการท ากิจกรรมในการเรียน  2562  เวลาทดลองสอน 64 ชั่วโมง รวม  12  สัปดาห์
             การสอน ให้สิ่งเร้าด้วยข้อ ค าถามเพื่อให้ผู้เรียนตอบสนอง มีการ  4. ผลการวิจัย

             เสริมแรงต่อการตอบสนองที่ถูกต้อง เกิดความ กระตือรือร้น
             สนใจที่จะเรียน สร้างแรงจูงใจให้ บทเรียนมีความน่าสนใจ    การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้น าจะ
             ยิ่งขึ้น  โดยเน้นสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนให้เข้ากับยุคสมัย ใน  แบ่ง ออกเป็น 4 ด้าน คือ ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของ
             รายวิชากลยุทธ์การตลาดอาหาร โดยใช้ ระบบการจัดการเรียนรู้   กลุ่มตัวอย่าง ด้านการหาประสิทธิภาพของการใช้นวัตกรรม

             บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ  Google Apps. for Education ด้านการ วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์
             เรียนด้วยการใช้นวัตกรรม Google Apps. for Education ส าหรับ  ทางการเรียนของผู้เรียนที่ใช้นวัตกรรม Google Apps. for

             ระดับนักศึกษาปริญญาตรี                           Education และด้านการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียนที่
             2.วัตถุประสงค์                                   เรียนด้วยนวัตกรรม Google Apps. for Education ดังแสดงใน
                                                              ตารางที่ 1 ดังนี้
             1) เพื่อหาประสิทธิภาพบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ Google Apps.         ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่ม

               for  Education ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80       ตัวอย่าง  ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษา นักศึกษา
             2) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบริหารการจัด   ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการตลาด จ านวน  10 คน โดยการ
                 จ าหน่าย ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์    เลือกแบบเจาะจง

              Google Apps                                            ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง
             3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาต่อบทเรียน        ข้อมูลทั่วไป    จ านวน (n)     ร้อยละ (%)
                 อิเล็กทรอนิกส์  Google Apps. for Education          ชาย              2              20

             3.วิธีด าเนินการวิจัย                                   หญิง             8              80
                3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง                          รวม             10             100
                3.1.1 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษา  จากตารางที่ 1 พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็น เพศ

             ระดับชั้นปริญญาตรี สาขาวิชาการตลาด  ภาคเรียนที่ 1 ปี  หญิงคิดเป็นร้อยละ 80 และเพศชายคิดเป็นร้อยละ 20
             การศึกษา 2562  จ านวน  10 คน                            ตอนที่ 2 ผลการหาประสิทธิภาพของสื่อที่พัฒนาจาก

             3.2 ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
                                                              แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Google Apps. for Education



                                                              2
                                                                                                              644
   657   658   659   660   661   662   663   664   665   666   667