Page 687 - Full paper สอฉ.3-62
P. 687
การต้อนรับบุคคลภายนอกหรือสมาชิก สามารถประยุกต์ ถูกต้องเพียงครั้งหนึ่ง แต่ไม่สามารถออกเสียงซ ้าให้ถูกต้องได้
ทักษะหลักเพื่อการท างานและสามารถท างานร่วมกับผู้อื่น เช่น อีก ก็ไม่นับว่าเกิดการเรียนรู้ ดังนั้นจะถือว่านักเรียนเกิดการ
ปฏิบัติงานภายใต้การแนะน าและควบคุมของหัวหน้างาน และ/ เรียนรู้ก็ต่อเมื่อออกเสียงค าดังกล่าวได้ถูกต้องหลายครั้ง ซึ่งก็
หรือในบทบาทหัวหน้างานที่มีความเป็นอิสระในการจัดการ คือเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรนั่นเอง
งานและให้ค าแนะน าผู้อื่น เป็นต้น สามารถปฏิบัติงานประจ า 2. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปจะต้องเกิดจากการฝึกฝน
ในหน่วยงานหรืองานอาชีพอิสระ สภาพการท างาน หรือเคยมีประสบการณ์นั้นมาก่อน เช่น ความสามารถในการใช้
ผู้ปฏิบัติงานในส านักงานเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารและจัด คอมพิวเตอร์ ต้องได้รับการฝึกฝน และถ้าสามารถใช้เป็นแสดง
เอกสารตลอดจนการประสานงานด้านการบริหารภายใน ว่าเกิดการเรียนรู้ หรือความสามารถในการขับรถ ซึ่งไม่มีใคร
องค์กร ร่างโต้ตอบจดหมายด้านงานบริหารทั่วไป ท าการ ขับรถเป็ นมาแต่ก าเนิดต้องได้รับการฝึ กฝน หรื อมี
คัดเลือกหัวข้อการจัดประชุม จัดท าตารางการประชุมและจัด ประสบการณ์จึงจะขับรถเป็น ในประเด็นนี้มีพฤติกรรม
ประชุม จัดเตรียมงบประมาณ ช่วยผู้บริหารและเจ้าหน้าที่อื่น ๆ บางอย่างที่เกิดขึ้นโดยที่เราไม่ต้องฝึกฝนหรือมีประสบการณ์
ในด้านการบริหารทั่วไปและงานที่เกี่ยวข้องกับองค์กร ติดตาม ได้แก่ พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเจริญเติบโต หรือ
ประเมินผลขององค์กร ให้การต้อนรับบุคคลภายนอกหรือการ การมีวุฒิภาวะและพฤติกรรมที่เกิดจากแนวโน้มการตอบสนอง
อ านวยความสะดวกตามที่ได้รับมอบหมาย ของเผ่าพันธุ์
การที่คนจะมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติ แนวคิดและพฤติ ผลของการเรียนรู้จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
กรรมไปในทางที่ดีขึ้นได้นั้น ต้องผ่านกระบวนการเรียนรู้ก่อน ใน 3 ด้าน คือ
ซึ่งกระบวนการเรียนรู้ของแต่ละคนจะแตกต่างกันไป มีผู้คิดค้น 1. ความรู้ (Knowledge) เช่น ความคิด ความเข้าใจ และ
พัฒนารูปแบบของกระบวนการเรียนรู้ไว้มากมายโดยภาพรวม ความจ าในเนื้อหาสาระต่าง ๆ
กระบวนการเรียนรู้ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 2. ทักษะ (Skill) เช่น การพูด การกระท าและการ
ประเภทที่ 1 เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการถ่ายทอด เคลื่อนไหวต่าง ๆ เป็นต้น
ความรู้ ประสบการณ์โดยผู้สอนหรือวิทยากรเป็นหลัก ผู้เรียน 3. ความรู้สึก (Affective) เช่น เจตคติ จริยธรรม และ
เป็นเพียงผู้รับและเรียนรู้ตามที่ผู้สอนถ่ายทอดหรือจัดประสบ ค่านิยม เป็นต้น
การณ์ให้ แบบนี้ยึดผู้สอนเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
ประเภทที่ 2 เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถ ชูชาติ เชิงฉลาด (2554) ได้ให้ความหมายของการเรียนรู้
สร้างความรู้ด้วยตัวของผู้เรียนเองโดยอิงจากประสบการณ์เดิม แบบมีส่วนร่วม ว่า การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory
และร่วมกันค้นหาหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ขึ้นมา ผู้สอนมี Learning) เป็นการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญโดยค านึง ถึง
หน้าที่เป็นเพียงผู้เอื้ออ านวยให้เกิดการเรียนรู้ แบบนี้ยึดผู้เรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
เป็นศูนย์กลางนั่นเอง สูงสุด (Maximum Learning) ดังนั้น จึงต้องออกแบบกลุ่มให้
ดังนั้นความหมายของการเรียนรู้ได้ว่า การเรียนรู้เป็น ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการท างานสูงสุด(Maximum Participation)
กระบวนการของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเนื่องมาจาก ของแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้และบรรลุผลการท างานสูงสุด
ประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลได้รับมา (Maximum Performance) ด้วย
พฤติกรรมของบุคคลที่เกิดจากการเรียนรู้จะต้องมี สุมณฑา พรหมบุญ (2550) กล่าวถึง การเรียนรู้แบบมี
ลักษณะส าคัญ ดังนี้ ส่วนร่วมว่า เป็นกระบวน การเรียนรู้ที่มีส่วนช่วยให้ผู้เรียน
1. พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจะต้องเปลี่ยนไปอย่างค่อนข้าง ได้รับประสบการณ์ที่สัมพันธ์กับชีวิตจริง ได้รับการฝึกฝนทั้ง
ถาวร จึงจะถือว่าเกิดการเรียนรู้ หากเป็นการเปลี่ยนแปลง ความรู้และทักษะให้พร้อมเผชิญกับชีวิตจริง โดยใช้กระบวน
ชั่วคราวก็ยังไม่ถือว่าเป็นการเรียนรู้ เช่น นักเรียนเรียนรู้การ การเรียนรู้ที่ประกอบด้วย
ออกเสียงภาษาต่างประเทศบางค า หากนักเรียนออกเสียงได้
2
669