Page 688 - Full paper สอฉ.3-62
P. 688
(1) กระบวนการกลุ่ม (Group Processus/Group Activité และส่งเสริมเขาในสิ่งที่ถูกที่ควรให้เขาได้รู้จักแก้ปัญหาและ
/Group Dynamics) ค่อย ๆ ปลูกฝังความรับผิดชอบให้แก่เขา เพราะนอกเหนือจาก
(2) การเรียนรู้แบบสรรค์สร้างความรู้ (Constructivisme) การมีวินัยและความรับผิดชอบตามธรรมชาติ อันอาจเกิดขึ้นได้
(3) การเรียนรู้แบบร่วมแรงร่วมใจ (Coopérative Learning) เองแล้ว เด็กยังเรียนรู้วินัยและความรับผิดชอบจากวัฒนธรรม
สรุปได้ว่า การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory โดยอาศัยการสั่งสอนฝึกปรือจากบุคคลแวดล้อม ลักษณะเช่นนี้
Learning) เป็นกระบวน การเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถสร้าง เป็นกฎธรรมชาติของการ อยู่ร่วมกันในสังคม (กิ่งแก้ว อัตถากร
ความรู้ด้วยตัวของผู้เรียนเองโดยอิงจากประสบการณ์เดิมและ , 2554)
ร่วมกันค้นหาหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ขึ้นมา ผู้สอนมี มิทตัน และแฮริส (อ้างถึงใน อนุวัฒน์ คูณแก้ว. 2553) ได้
หน้าที่เป็นเพียงผู้เอื้ออ านวยให้เกิดการเรียนรู้ โดยเชื่อว่า การ ให้ข้อเสนอแนะในการฝึกเพื่อพัฒนาความรับผิดชอบ ดังนี้ การ
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมสามารถพัฒนาทั้งองค์ความรู้ ทัศนคติ ฝึกความรับผิดชอบควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก
ทักษะ และพฤติกรรมของผู้เรียนได้สูงสุด เนื่องจาก เป็นการ 1. เด็กทุกคนควรได้ฝึกการรับผิดชอบ
เรียนรู้ที่ดึงประสบการณ์ ศักยภาพของผู้เรียนออกมาใช้อย่าง 2. จัดประสบการณ์ให้เหมาะกับวัยและความสามารถของ
เต็มที่ แต่ละบุคคล
ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ 3. ควรให้เด็กทราบว่าผู้ใหญ่หวังอะไรจากเขา
ของบลูม (Bloom) ได้ท าการวิจัยและเสนอทฤษฎีเกี่ยวกับระบบ 4. ผู้ใหญ่ต้องยืดหยุ่น ไม่เร่งรัดเด็กจนเกินไป
การเรียนการสอนในโรงเรียน โดยกล่าวถึงปัจจัยหรือองค์ 5. ต้องระลึกเสมอว่า เด็กต้องการค าแนะน าจากผู้ใหญ่
ประกอบที่มีผลกระทบต่อระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 6. เด็กต้องการความไว้วางใจจากผู้ใหญ่ จึงต้องเปิด
องค์ประกอบ ดังนี้ โอกาสให้เขาได้รับผิดชอบตามสมควร
1) พฤติกรรมด้านความรู้ ความคิด (Cognitive entry 7. ทัศนคติและพฤติกรรมความรับผิดชอบของผู้ใหญ่มี
behaviors) หมายถึง ความสามารถทั้งหมดของผู้เรี ยน อิทธิพลต่อทัศนคติและพัฒนาการความรับผิดชอบของเด็ก
ประกอบด้วยความถนัดและพื้นฐานความรู้เดิมของผู้เรียน 8. ไม่ควรให้เด็กรับผิดชอบเกินความสามารถ
2) คุณลักษณะทางด้านจิตพิสัย (Affective entry สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
characteristics) หมายถึง สภาพการณ์หรือแรงจูงใจที่จะท าให้ (2550) ได้เสนอวิธีการพัฒนาความรับผิดชอบ ว่า
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ใหม่ ซึ่งได้แก่ ความสนใจ และเจตคติที่มี 1. ครูต้องเป็นแบบอย่างที่ดี
ต่อเนื้อหาวิชา โรงเรียน ระบบการเรียน ความคิดเห็นเกี่ยวกับ 2. พัฒนาพฤติกรรมในชั้นเรียน เช่น ใช้บทบาท
ตนเอง และลักษณะซึ่งเป็นคุณลักษณะต่าง ๆ ทางด้านจิตพิสัย สมมุติ กรณีตัวอย่าง สถานการณ์จ าลอง
ซึ่งบางอย่างอาจเปลี่ยนแปลงได้ แต่บางอย่างยังคงอยู่ 3. สร้างเจตคติที่ดีต่อความรับผิดชอบ
3) คุณภาพของการสอน (Quality of instruction) ได้แก่ 4. ก าหนดภาระงานให้ท า
การได้รับค าแนะน า การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การ 5. ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการก าหนดกฎกติกาและ
เสริมสร้างของครู การแก้ไขข้อผิดพลาด และรู้ผลว่าตนเอง ระเบียบต่าง ๆ
กระท าได้ถูกต้องหรือไม่ 6. สร้างแรงจูงใจ และเสริมแรงให้เกิดความรับผิดชอบ
สรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านจิตใจ คือ การ จากแนวทางในการพัฒนาความรับผิดชอบ ผู้รายงานได้
ปรับตัว ค่านิยมเจตคติ ความชื่นชมในศิลปะ สุนทรียภาพ และ น าแนวคิดดังกล่าวมาเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ความสนใจของนักเรียน แบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน
แนวทางการพัฒนาความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบเป็น ของนักศึกษาโดยการก าหนดภาระงานให้นักเรียนรับผิดชอบ
สิ่งที่เกิดจากการฝึกฝนอบรมตั้งแต่วัยเด็กและจะพัฒนาไปเรื่อย และสังเกตพัฒนาการของพฤติกรรมเป็นระยะ ๆ
ๆ จนถึงวัยรุ่น ผู้ใหญ่จึงต้องเข้าใจธรรมชาติของเด็ก แนะน า
3
670