Page 692 - Full paper สอฉ.3-62
P. 692
พฤติกรรมด้านความสนใจในการปฏิบัติงาน มีค่า C.V. เพียง ปฏิบัติงานของนักศึกษาเพื่อฝึกประสบการณ์เรียนรู้ทั้งในและ
ร้อยละ 3.00 ซึ่งหมายความว่า นักเรียนแต่ละคน มีระดับความ นอกบทเรียนเพื่อให้นักศึกษาได้ปรับปรุงพฤติกรรมการปฏิบัติ
สนใจในการปฏิบัติงานดีเยี่ยม ใกล้เคียงกัน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ร่วมกับผู้อื่นก่อนไปท างานจริง การท าบทความวิชาการนี้ส าเร็จ
รูปแบบของการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ซึ่งมี 2 ได้เนื่องด้วยความร่วมมือจากการบุคคลที่เกี่ยวข้องอาทิเช่น
กิจกรรมหลัก คือ การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ และการเรียนรู้ คณะผู้บริหาร คณะครู นักศึกษา สถานประกอบการ ผู้วิจัย
ด้วยกระบวนการกลุ่ม ซึ่งสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มต้องดึง ขอขอบพระคุณยิ่ง หากพบข้อผิดพลาดบกพร่องประการใดขอ
ประสบการณ์ที่ตนเองมีอยู่ร่วมแลกเปลี่ยนและแบ่งปันให้ น้อมรับฟังความคิดเห็นเพื่อการปรับปรุง
สมาชิกคนอื่นด้วย ดังนั้น จึงเป็นผลให้พฤติกรรมด้านการรู้
หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายการพัฒนาผลงาน และการปฏิบัติงาน อ้างอิง
ให้ส าเร็จตามเป้าหมาย จึงมีระดับพฤติกรรมความรับผิดชอบอยู่ คนึงนิจ พุ่มพวง (2556). การใช้กิจกรรมกลุ่มพัฒนาความ
ในระดับ ดีเยี่ยม รับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน
ศึกษาสงเคราะห์เพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี. ปริญญา
5. สรุปผลการศึกษา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาชุนชน ภาควิชา
5.1 การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการ จิตวิทยาและการแนะแนว. นครปฐม : มหาวิทยาลัย
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม และเอกสารคู่มือประกอบการเรียน ศิลปากร.
รายวิชา สัมมนาวิชาชีพการจัดการ พบว่า ประสิทธิภาพของ บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์. (2550). “การเรียนรู้แบบสรรค์สร้าง
แผนการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม และ เอกสารคู่มือ ความรู้” ในทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม: ต้นแบบ
ประกอบการเรียนได้มาตรฐานตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 การเรียนรู้ทางด้านหลักทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. ส านักงาน
และมีประสิทธิภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ อยู่ในเกณฑ์ดี คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
เยี่ยม (C.V. = 4.15) ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2550). “กระบวนการกลุ่ม” ในทฤษฎี
5.2 การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่ การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม : ต้นแบบการเรียนรู้ทางด้าน
ได้รับการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม หลักทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. ส านักงานคณะกรรมการ
พบว่า มีจ านวนนักศึกษา 27 คน คิดเป็นร้อยละ 93.11 ที่สอบ การศึกษาแห่งชาติ.
ผ่านเกณฑ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากที่ตั้งไว้ ร้อยละ 80 สุทธิวรรณ พีรศักดิโสภณ. (2546). วิธีการทางสถิติส าหรับการ
5.3 การวิเคราะห์เปรียบเทียบความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ วิจัย. ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษา คณะศึกษา
ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วัฒนาพานิช.
มีส่วนร่วม พบว่า นักศึกษามีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ด้านความรู้เฉลี่ยเพิ่มขึ้นจากก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (2550). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่
ที่ระดับ .05 และ พบว่านักศึกษามีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการ 10. กรุงเทพฯ : ส านักนายกรัฐมนตรี.
เรียนด้านความรู้เฉลี่ยเพิ่มขึ้นจากก่อนเรียนร้อยละ 67
5.4 พฤติกรรมความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ของ
นักศึกษาที่ได้รับการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วน
ร่วม มีระดับพฤติกรรมความรับผิดชอบ ดีเยี่ยม
กิตติกรรมประกาศ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้าง
คุณลักษณะในการปฏิบัติงานอาชีพของหลักสูตรเทคโนโลยี
บัณฑิต วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น เพื่อศึกษาพฤติกรรมการ
7
674