Page 89 - Electronic Employee Handbook.pdf
P. 89
84
(e) Maternity Leave shall be taken to commence on the first day of the scheduled Maternity Leave or
the first day of confinement, whichever occurs first. In cases where confinement commences before the
scheduled Maternity Leave, the Employee should give notice of the first day of confinement and her
intention to take sixty (60) days within Maternity Leave to her employer thirty (30) days of her
confinement.
(e) การลาคลอดจะเริ่มในวันแรกของการลาคลอดที่กําหนดหรือวันแรกของการคลอดบุตรแล้วแต่วันใด
จะถึงก่อน ในกรณีที่คลอดบุตรก่อนการลาคลอดตามกําหนด ลูกจ้างควรแจ้งให้ทราบในวันแรกของการ
คลอดบุตรและแสดงความจํานงที่จะใช้เวลาหกสิบ (60) วัน ลูกจ้างควรแจ้งนายจ้างให้ทราบภายในสามสิบ
(30) วันนับจากวันที่คลอดบุตร
(f) Notwithstanding anything contrary to this Article, a female Employee shall not be entitled to
Maternity Leave if at the time of her expectancy, she has three (3) or more surviving children born during
her employment with the Company. Leave taken under this circumstance shall be regarded as Annual
Leave or no pay leave.
(f) ถ้ามีสิ่งใดขัดแย้งกับข้อนี้ ให้ถือว่าพนักงานหญิงไม่ได้ใช้มีสิทธิ์ลาคลอด หากมีการคาดหวังว่า ลูก
จะรอดตายสามคน (3) คนหรือมากกว่า ในระหว่างการทํางานกับบริษัท การลาในกรณีนี้ให้ถือว่าเป็นการลา
พักผ่อนประจําปีหรือการลาหยุดโดยไม่ได้รับค่าจ้าง
(g) Leave on account of miscarriage, abortive measure or premature stillborn occurring during the
first twenty-four (24) weeks of pregnancy shall not be deemed as Maternity Leave but as Sick Leave with
hospitalisation or Sick Leave without hospitalisation as the case may be.
(g) การลาคลอดเนื่องจากการแท้งบุตร การแท้งหรือ การคลอดบุตรก่อนกําหนดที่เกิดขึ้นในช่วงยี่สิบสี่
(24) สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์ จะไม่ถือว่าเป็นการลาคลอด
(h) If after expiry of the Maternity Leave, a female Employee who is certified by a registered medical
practitioner, that she is not able to work due to illness arising from pregnancy or confinement, she may
apply for Unpaid Leave or Annual Leave subject to Company’s approval and discretion.
(h) หากหลังจากการลาคลอดบุตร พนักงานหญิงที่ได้รับการรับรองจากแพทย์ที่มีใบประกอบวิชาชีพว่า
เธอไม่สามารถทํางานได้ เนื่องจากความเจ็บป่วยที่เกิดจากการตั้งครรภ์ หรือการคลอดบุตร ได้รับการอนุมัติ
และอยู่ในดุลยพินิจของบริษัท