Page 98 - วทยทษะ
P. 98
94
ไฮโดรเจน (H) และธาตุออกซิเจน (O) สมบัติของนํ้าจะแตกต่างจาก
ไฮโดรเจนและ ออกซิเจน
1.2 สารละลาย (Solution) หมายถึง สารเนื้อเดียวที่
ประกอบด้วยสารบริสุทธิ์ตั้งแต่ 2 ชนิด ขึ้นไปละลายรวมกันเป็นเนื้อเดียว
และมีสัดส่วนขององค์ประกอบเหมือนกันตลอดทั้งสารละลาย* 2
เกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราส่วนในการรวมตัวของสารไม่จําเป็นต้องคงที่
แน่นอน เช่น การทํานํ้าเชื่อม ปริมาณ นํ้าตาลที่ใช้ละลายนํ้าอาจไม่เท่ากัน
ทําให้ได้นํ้าเชื่อมเข้มข้นไม่เท่ากัน ดังนั้น สารละลายจึงมีจุดเดือดและ จุด
หลอมเหลวไม่คงที่ สารละลายมีองค์ประกอบอยู่ 2 ส่วน คือ ตัวทําละลาย
(Solvent) และตัวละลาย (Solute) การพิจารณาว่าสารใดเป็นตัวทํา
ละลาย สารใดเป็นตัวละลาย มีเกณฑ์ในการกําหนดดังนี้
2.1 สารละลายที่เกิดจากสารต่างสถานะกันผสมกัน จะกําหนดให้
สารที่มีสถานะเดียวกับ สารละลายเป็นตัวทําละลาย เช่น นํ้าตาลทราย
เป็นของแข็ง นํ้าเป็นของเหลว ละลายกันเป็นนํ้าเชื่อม มี สถานะเป็น
ของเหลว จึงถือว่านํ้าเป็นตัวทําละลายเพราะมีสถานะเหมือนกับ
สารละลาย (นํ้าเชื่อม) ส่วน นํ้าตาลทรายเป็นของแข็งจึงถือว่าเป็นตัว
ละลาย