Page 82 - หนังสือเรียนสาระความรู้พื้นฐาน
P. 82
75
2.1. การวิ่งอยูกับที่ ตองยกเทาแตละขางใหสูงประมาณ 8 นิ้ว ซึ่งมีขอจํากัดที่มีการเคลื่อนไหวของ
ขอตางๆ นอย ไมมีการยืดหรือหดของกลามเนื้ออยางเต็มที่ ซึ่งถือเปนขอดอยกวาการวิ่งแบบอื่นๆ
2.2. การวิ่งบนสายพาน เปนการวิ่งที่ปลอดภัยกวาการวิ่งกลางแจง ไมตองเผชิญกับสภาพที่มีฝน
ตก แดดรอน หรือมีฝุนละอองตางๆ และถาใชสายพานชนิดใชไฟฟาจะมีระบบตางๆ บนจอภาพ ทําใหทราบ
วาการวิ่งของเรานั้นมีความเร็วอยูในระดับใด วิ่งไดระยะทางเทาไร และมีอัตราการเตนของชีพจรเทาใด เพื่อ
ใชเปนขอมูลเบื้องตนในการปรับโปรแกรมออกกําลังกายในครั้งตอไป การวิ่งบนสานพานมีขอเสียคือ ตอง
เสียคาใชจายเพราะเครื่องมีราคาแพง และการใชบริการในสถานออกกําลังกายของเอกชนจะตองเสีย
คาบริการ ซึ่งมีราคาแพงเชนกัน ดังนั้นควรใชบริการของภาครัฐที่ใหบริการดานนี้โดยตรงคือ สถานที่ออก
กําลังกายที่จัดบริการโดยเทศบาล องคการบริหารสวนจังหวัด สํานักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ
จังหวัด การทองเที่ยวและกีฬาจังหวัด และการกีฬาแหงประเทศไทย ซึ่งประชาชนทุกคนสามารถเขาไปใช
บริการได
2.3. การวิ่งกลางแจง เปนการวิ่งที่ทําใหเราไดอากาศบริสุทธิ์ ถาวิ่งในสวนสาธารณะหรือวิ่ง
ออกไปนอกเมืองจะไดชมทิวทัศน ทําใหไมเบื่อและไมตองเสียคาใชจาย ที่สําคัญตองระมัดระวังเรื่องความ
ปลอดภัยในกรณีที่ออกวิ่งเพียงคนเดียว
3. การขี่จักรยาน การขี่จักรยานไปตามสถานที่ตางๆ เปนการออกกําลังกายที่ใหประโยชนดานการ
ทรงตัว ความคลองแคลววองไว และเปนการฝกความอดทนดวย การขี่จักรยานในสวนสาธารณะหรือในที่ไม
มีมลพิษนั้น นอกจากจะเกิดประโยชนตอรางกายแลวยังเปนการสงเสริมสุขภาพจากความเพลิดเพลินในการ
ชมทิวทัศนรอบดานและอากาศที่บริสุทธิ์ ซึ่งแตกตางจากการขี่จักรยานแบบตั้งอยูกับที่ในบานหรือสถานที่
ออกกําลังกาย ในการขี่จักรยานมีเทคนิคงายๆ ที่ควรปฏิบัติดังนี้
3.1. ปรับที่นั่งของจักรยานใหเหมาะสม เพราะในการปนตองมีการโยกตัวรวมดวย
3.2. ในการปนจักรยานใหปนดวยปลายเทาตรงบริเวณโคนนิ้ว
3.3. ถาเปนจักรยานแบบตั้งอยูกับที่ ในชวงแรกของการฝกควรตั้งความฝดใหนอยเพื่ออบอุน
รางกายประมาณ 3 – 4 นาที แลวจึงคอยๆ ปรับเพิ่มความฝดของลอมากขึ้นจนหัวใจเตนเร็วถึงอัตราที่กําหนด
ไวในเปาหมาย แลวจึงคอยๆ ลดความฝดลงจนเขาสูระยะผอนคลาย เมื่อชีพจรเตนชาลงจนเปนปกติจึงหยุด
ปนจักรยานได
4. การเตนแอโรบิก เปนการออกกําลังกายที่ไดรับความนิยมเปนอยางมาก และเปนการออกกําลังกายที่
ไดเคลื่อนไหวทุกสวนของรางกาย ประโยชนจากการเตนแอโรบิกคือ การสรางความแข็งแกรงและความ
อดทนของกลามเนื้อ โดยเฉพาะกลามเนื้อหัวใจเทคนิคในการเตนแอโรบิกมีดังนี้
4.1. ตองเคลื่อนไหวรางกายตลอดเวลา เพื่อใหการเตนของหัวใจอยูในระดับที่ตองการ
4.2. ใชเวลาในการเตนแอโรบิก ครั้งละ 20 – 30 นาที สัปดาหละ 3 ครั้ง
4.3. สถานที่ที่ใชในการเตนแอโรบิก ควรมีอากาศถายเทไดสะดวก และถาพื้นที่ใชเตนเปนพื้น
แข็งผูเตนจะตองใสรองเทาสําหรับเตนแอโรบิกโดยเฉพาะ ซึ่งพื้นรองเทาจะชวยรองรับแรงกระแทกได