Page 84 - หนังสือเรียนสาระความรู้พื้นฐาน
P. 84
77
8. ผูปวยทุกคนหรือคนปกติที่มีอายุตั้งแต 30 ปขึ้นไป ควรไดรับการตรวจสุขภาพและจิตใจกอนลง
มืออกกําลังกาย เมื่อแพทยอนุญาตใหออกกําลังกาย จึงคอยๆ เริ่มไปออกกําลังกายทีนอยๆ
สําหรับผูปวยทุกโรค การออกกําลังกายควรเริ่มตนจากการเดินเปนวิธีที่ปลอดภัยเปนโอกาสให
รางกายไดทดลองโดยเริ่มเดินประมาณ 2 สัปดาหกอน เพื่อใหรางกายปรับตัวในการที่ตองทํางานหนักขึ้น
ควรสังเกตตัวเองวาถาออกกําลังกายถูกตองแลวรางกายจะกระปรี้กระเปรา นอนหลับสนิท จิตใจราเริง มี
เรี่ยวแรงมากขึ้น
หลังจากเดินชาใน 2 สัปดาหแรกจึงคอยเดินเร็วใหกาวเทายาวๆ ขึ้นในสัปดาหที่ 3 – 4 ถาทานไม
เจ็บปวยไมมากนัก พอขึ้นสัปดาหที่ 5 อาจจะเริ่มวิ่งเบาๆ สลับกับการเดินก็ได ถามีอาการผิดปกติเตือน เชน
วิงเวียน หัวใจเตนแรงมาก หรือเตนถี่สลับเบาๆ หายใจขัดรูสึกเหนื่อยผิดปกติหรืออาการหนามืดคลายจะเปน
ลม ผูที่มีอาการดังกลาวก็ควรหยุดออกกําลังกาย การวิ่งระยะตนๆ ควรวิ่งเหยาะๆ ชาๆ วันละ 5 – 10 นาที
แลวคอยเพิ่มขึ้นทีละนอย
การออกกําลังกายที่ปลอดภัยที่สุดอีกวิธีหนึ่ง สําหรับผูปวยคือกายบริหาร ยืดเสน ยืดสายให
กลามเนื้อ ขอตอไดออกแรงโดยยึดหลักดังนี้
1. กายบริหารวันละ 10 นาทีทุกวัน
2. ทาที่ใชฝกควรเปน 6 – 7 ทา ตอวันใน 2 สัปดาหแรกใหฝกทาละ 5 – 10 รอบ สัปดาห 3 – 4 เพิ่ม
เปน 12 รอบ
3. เปลี่ยนทาฝกไมใหเบื่อหนาย เลือกทาบริหารกลามเนื้อมัดใหญๆ เชน ทอนขา ทอนแขน ตนคอ
หัวไหล
4. ทาซอยเทาอยูกับที่และทากระโดดเชือกถาเลือกทําใหพึงระวังเปนพิเศษ ในผูปวยหนักและ
ผูสูงอายุ
5. ถึงแมวาจะรูสึกวาแข็งแรง สดชื่นก็ไมควรฝกหักโหมออกกําลังกายมากเกินไป ทาบริหารแตละ
ทาไมควรฝกเกินทาละ 30 รอบและไมฝกเกิน 30 ทา ในแตละวัน
6. ตรวจสอบความกาวหนาในการออกกําลังกายโดยการชั่งน้ําหนัก สวนคนที่มีรูปรางไดสัดสวน
น้ําหนักไมควรเปลี่ยนแปลงมากนัก
7. วัดชีพจรที่ซอกคอหรือขอมือคนทั่วๆ ไป ถาไมเจ็บปวยเปนไขผูชายเฉลี่ยอัตราการเตนของหัวใจ
หรือชีพจร 70 – 75 ตุบตอนาที ผูหญิง 74 – 76 ตุบตอนาที สวนผูปวยที่มีพิษไขจะมีชีพจรสูงกวาปกติ แตถา
รางกายสมบูรณแข็งแรงขึ้น ชีพจรควรลดลงอยางนอยจากเดิม 5 – 10 ตุบตอนาที แสดงวาหัวใจทํางานดีขึ้น