Page 21 - คู่มือกรทำวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.
P. 21

เรื่องที่ 3   สภาพปัญหาจากการท าวิจัยอย่างง่ายของครู กศน. ที่ผ่านมา

                          ตามที่ได้กล่าวไว้ก่อนหน้านี้ว่า การท าวิจัยอย่างง่ายของครู กศน. ที่ผ่านมามักจะประสบปัญหา

               อยู่หลาย ๆ ด้าน และติดภาพลักษณ์ของการท าวิจัยว่าเป็นเรื่องที่ยาก วุ่นวาย ซับซ้อน เป็นงานวิชาการที่ต้องใช้

               ความรู้เฉพาะ ประกอบกับครู กศน.ยังขาดประสบการณ์ และความเข้าใจที่ดีเกี่ยวกับการท าวิจัยอย่างง่าย
               จึงท าให้กลัว วิตกกังวลและไม่มั่นใจว่าตนเองจะสามารถท าวิจัยได้  ดังนั้น ผลงานการวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.

               จึงปรากฏให้เห็นอย่างกว้างขวางไม่มากนัก ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ที่ไม่ดีด้านการพัฒนาทางวิชาการ

               และคุณภาพผู้เรียน กศน. โดยตรง

                          จากผลการวิจัยของสถาบัน กศน. ภาคเหนือ ปีงบประมาณ 2558  เรื่อง แนวทางการพัฒนาผู้เรียน

               โดยการวิจัยอย่างง่ายของครู กศน. ซึ่งใช้วิธีการสอบถาม และการสนทนากลุ่ม เพื่อศึกษาผลเกี่ยวกับ
               การปฏิบัติการท าวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.ใน 3  ด้าน คือ ด้านการวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ ด้านการออกแบบ

               พัฒนาและสร้างเครื่องมือวิจัย และด้านการสรุปผลและรายงานผลการวิจัย จากครู กศน. ผู้ให้ค าปรึกษา และ

               ผู้เรียน กศน. ปรากฏผล ดังนี้

                          1.  ด้านการวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ พบว่า


                              ครู กศน. ได้ปฏิบัติการวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ อยู่ในระดับ มาก ซึ่งหมายถึง มีการปฏิบัติ
               ทุกครั้ง  โดยวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน หลายวิธีการแตกต่างกันไป ได้แก่ การวิเคราะห์ปัญหา

               จากการสังเกต การสอบถาม การใช้แบบฝึกก่อนเรียน บันทึกหลังการสอน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับสภาพปัญหา

               ของผู้เรียนแต่ละคน แต่ละกลุ่ม ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน แต่ก็ไม่มั่นใจว่าเป็นปัญหาและสาเหตุที่แท้จริง
               หรือไม่ และยังไม่เข้าใจวิธีการน าผลการวิเคราะห์ข้อมูลมาใช้ในการก าหนดกรอบแนวคิดในการศึกษา

               ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาได้


                           2.  ด้านการออกแบบและสร้างเครื่องมือวิจัย พบว่า


                             ครู กศน. ได้ปฏิบัติการออกแบบและสร้างเครื่องมือวิจัย อยู่ในระดับ ปานกลาง ซึ่งหมายถึง
               มีการปฏิบัติเป็นบางครั้ง โดยเฉพาะประเด็นเรื่อง มีการออกแบบนวัตกรรมประเภทสื่อการสอนสอดคล้องกับ

               วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และมีการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้านความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา/ความสอดคล้องกับ

               วัตถุประสงค์ ซึ่งทั้ง 2 ประเด็นนี้ครู กศน. ส่วนใหญ่ปฏิบัติค่อนข้างน้อย เนื่องจาก ครู กศน. ยังไม่เข้าใจ
               หลักและวิธีการออกแบบสื่อ จึงศึกษาจากสื่อที่มีอยู่แล้ว หรือสอบถามผู้รู้ แล้วทดลองสร้างสื่อและน าไปทดลองใช้

               กับผู้เรียน มีครูเพียงบางคนเท่านั้น ที่น าสื่อไปให้ผู้ให้ค าปรึกษาตรวจสอบและปรับแก้ไข ก่อนน าไปใช้จริง

               กับผู้เรียน


                           แต่ผู้ให้ค าปรึกษาส่วนใหญ่กลับมองเห็นในประเด็นอื่น ซึ่งครู กศน. ปฏิบัติค่อนข้างน้อย 2 ประเด็น
               คือ ครู กศน. มีการน าแผนและนวัตกรรมประเภทสื่อการสอนไปใช้ด าเนินการ และครู กศน. มีการรวบรวม

               ข้อมูลการ                                                                        ด าเนินงาน

                                                คู่มือการท าวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.
                                                             7
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26