Page 29 - คู่มือกรทำวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.
P. 29
ประเด็น การวิจัยอย่างง่าย ตามบริบทของ กศน.
4. ท าที่ไหน ในหรือนอกห้องเรียนซึ่งเป็นพื้นที่หรือขอบเขตการวิจัย เช่น บ้านหรือชุมชน
ของกลุ่มตัวอย่าง
5. ท าเพื่ออะไร แก้ปัญหาผู้เรียนบางคน ในเรื่องบางเรื่อง หรือทดลองใช้นวัตกรรม/เทคนิค/
กระบวนการเรียนการสอนใหม่ ๆ หรืออีกนัยหนึ่ง คือ การพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน คุณภาพการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง
6. ท าอย่างไร ออกแบบการวิจัย หรือวิธีวิจัย แต่ไม่จ าเป็นต้องเขียนเป็นโครงร่างการวิจัย
เช่นเดียวกับการวิจัยเต็มรูปแบบ เพียงก าหนดเป็นปฏิทินการวิจัยไว้เพื่อควบคุม
ระยะเวลาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ และใช้ประสบการณ์ของครูผู้สอน
มาก าหนดเป็นวงจรวิจัยแบบ PAOR (วางแผน ปฏิบัติการ สังเกต สะท้อนผล
และกระท าซ้ า)
7. เครื่องมือวิจัย ใช้เครื่องมือวิจัยที่ไม่ซับซ้อน อาจมีแบบค าถาม แบบทดสอบ หรือแบบสัมภาษณ์
รวมถึงการสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน นอกจากนี้หากครูผู้สอนสามารถ
คิดค้นนวัตกรรมใหม่ เช่น แบบฝึก หรือวิธีการจัดการเรียนรู้ หรือสื่ออื่น ๆ
ที่เน้นการแก้ปัญหาของผู้เรียนก็สามารถด าเนินการได้ และครูผู้สอนต้องเป็น
กลไกส าคัญในการคิดและด าเนินการสร้างเครื่องมือวิจัย
8. การก าหนดวิธีการแก้ไข อ้างอิงทฤษฎี หรือมีผลการวิจัยรองรับตามความจ าเป็น หรืออาจใช้วิธีการ
ปัญหา เชิงปรนัยอธิบายตรวจสอบผลการวิจัยก็ได้
9. กลุ่มเป้าหมาย ระบุประชากร ซึ่งหมายถึง จ านวนผู้เรียนทั้งหมด และกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เรียน
ที่มีปัญหา หรือมีพฤติกรรมที่ต้องการท าวิจัย ไม่จ าเป็นต้องสุ่มตัวอย่าง
10. ระยะเวลาการวิจัย ใช้ระยะเวลาวิจัยไม่นานมากนัก และเสร็จสิ้นในภาคเรียนนั้น ๆ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ
การวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ ว่าแต่ละปัญหาจะใช้ระยะเวลามากหรือน้อย
เพียงใดจึงจะสามารถแก้ปัญหาได้
11. การเก็บและวิเคราะห์ ครูผู้วิจัยเป็นผู้เก็บข้อมูลจากการสังเกต พูดคุยกับผู้เรียน หรืออาจใช้เครื่องมือ
ข้อมูล เช่น แบบสอบถาม แบบทดสอบ หรือแบบสัมภาษณ์ หรือนวัตกรรมใหม่ ๆ
และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเบื้องต้น ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานก็เพียงพอ
คู่มือการท าวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.
15